พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Advertisements

แนวโน้มของตารางธาตุ.
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Atomic Structure โครงสร้างอะตอม
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
คุณสมบัติของภาษาเรกูลาร์
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ธาตุและสารประกอบ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. การให้เหตุผลแบบ อุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผล จากการสังเกตหรือการทดลองเพื่อค้นหาความ.
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
การทำ Normalization 14/11/61.
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Lecture ที่ ธาตุแทรนสิชัน (Transition Elements)
ตารางธาตุ.
BC320 Introduction to Computer Programming
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การรักษาดุลภาพของเซลล์
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
อะตอม คือ?. แบบจำลองอะตอม โดย ครูเกษศิรินทร์ พลหาญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ตารางธาตุ.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 สารและสมบัติของสาร ว มัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
SMS News Distribute Service
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
Nuclear Symbol kru piyaporn.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
สมบัติธาตุตามตารางธาตุ
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
Class Diagram.
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ แก๊ส ให้กลายเป็นไฮโดรเจนไอออนในสถานะแก๊ส เขียนเป็นสมการทั่วไปว่า ถ้าธาตุ X มี 4 อิเล็กตรอน จะมีพลังงานไอออไนเซชัน 4 ค่า เขียนเป็นสมการ ดังนี้ X (g) X+ (g) + e- ใช้พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 แทนด้วย IE1 X+ (g) X2+ (g) + e- ใช้พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 2 แทนด้วย IE2 X2+ (g) X3+ (g) + e- ใช้พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 3 แทนด้วย IE3 X3+ (g) X4+ (g) + e- ใช้พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 4 แทนด้วย IE4

พลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) ตารางตัวอย่างค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับต่าง ๆ ของธาตุ ธาตุ พลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8 IE9 IE10 1H 2He 3Li 4Be 5B 6C 7N 8O 9F 10Ne 1.318 2.379 0.526 0.906 0.807 1.093 1.407 1.320 1.687 2.087 5.257 7.305 1.763 2.433 2.359 2.862 3.395 3.381 3.959 11.822 14.855 3.665 4.627 4.585 5.307 6.057 6.128 21.013 25.033 6.229 7.482 7.476 8.414 9.375 32.834 37.838 9.452 10.996 11.029 12.184 47.285 53.274 13.333 15.171 15.245 64.368 71.343 17.874 20.006 84.086 92.047 23.076 106.443 115.389 131.442

พลังงานไอออไนเซชัน ค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุในตารางธาตุ

สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron Affinity ; EA) คือ พลังงานที่เปลี่ยนไปเมื่ออะตอม ของธาตุในสถานะแก๊สได้รับอิเล็กตรอน 1 อนุภาคพลังงานนี้มักจะอยู่ในรูปคายพลังงาน แต่ก็มีธาตุบางชนิดจะอยู่ในรูปดูดพลังงาน เขียนเป็นสมการทั่วๆ ไปได้ดังนี้ X (g) + e- X- (g) หน่วยของ EA จะเหมือนกับพลังงานไอออไนเซชันคือ kJ/mol หรือ หน่วยที่ใหญ่กว่า MJ/mol และหน่วยที่เล็กกว่าคือ eV ธาตุที่มี EA สูง จะคายพลังงานออกมามากเมื่อรับอิเล็กตรอนเข้าไป ทำให้เกิดไอออนลบที่ มีความเสถียรมาก ดังนั้น EA จึงใช้ทำนายความสามารถในการเป็นไอออนลบ กล่าวคือ ธาตุที่มีอิเล็กตรอน EA สูง จะสามารถเกิดเป็นไอออนลบได้ง่ายกว่าธาตุที่มี EA ต่ำ

สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของธาตุ ในตารางธาตุ

เลขออกซิเดชัน เลขออกซิเดชัน (Oxidation numbers หรือ Oxidation states) คือ ตัวเลขที่สมมติขึ้นเพื่อ แสดงค่าประจุไฟฟ้าธาตุ โดยคิดจากจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้และรับหรือใช้ร่วมกันในการ เกิดสารประกอบ กฎสำหรับใช้กำหนดเลขออกซิเดชัน ธาตุอิสระทุกชนิด มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ ศูนย์ เช่น Li Mg Cu Ne O2 P4 F2 ในสารประกอบทุกชนิด โลหะหมู่ IA มีเลขออกซิเดชัน +1 โลหะหมู่ IIA มีเลข ออกซิเดชัน +2 ฟลูออรีนจะมีเลขออกซิเดชัน -1 เสมอ สารประกอบระหว่างไฮโดรเจนกับอโลหะ ไฮโดรเจนจะมีเลขออกซิเดชัน +1 สารประกอบระหว่างไฮโดรเจนกับโลหะ ไฮโดรเจนจะมีเลขออกซิเดชัน -1

เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2 ยกเว้น ในสารประกอบเปอร์ออกไซด์ จะมีเลขออกซิเดชัน -1 เช่น H2O2 BaO2 ในสารประกอบซูเปอร์ออกไซด์ จะมีเลขออกซิเดชัน -1/2 เช่น KO2 ในสารประกอบทุกชนิดผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมของธาตุเท่ากับศูนย์ ในไอออนของกลุ่มอะตอมของธาตุพบว่า ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอม เท่ากับประจุของไอออนนั้น