MAJ. WATCHARA MUMAN UNCLASSIFIED June 2017 • Battery Commander-08 of China(PLA) • Test set up MLRS. (Sweden) • FA CCC. 65-13 (USA.) • WS 32.(DTI – 1G GMLRS) China
Firing Battery Terminology กล่าวนำ : ส่วนยิงเป็นส่วนหนึ่งของ ร้อย.ป.สนาม ซึ่งอยู่ ณ ที่ตั้งยิง ประกอบด้วย: ปืนใหญ่สนาม,กำลังพล,ยุทโธปกรณ์ ที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติการยิง เป็นส่วนหนึ่งของชุดหลักยิงปืนใหญ่สนาม (ผตน. - ศอย. - สย.) ปฏิบัติตามคำสั่งยิง ซึ่ง ศอย.เป็นผู้ส่งมาให้
Map and Azimuth Terms เส้นตาราง (Grid line): เส้นเชื่อมต่อระหว่างทิศเหนือกับทิศใต้และทิศตะวันออกกับทิศตะวันตกตัดกันเป็นตารางในแผนที่ 44 45 46 47 31 32 34 33 A B *
Map and Azimuth Terms ทิศเหนือเข็มทิศ(Magnetic North): ทิศทางตรงไปยังขั้วเหนือแม่เหล็กโลก โดยปกติคือทิศเหนือที่เข็มทิศชี้ไป ทิศเหนือจริง(True North): ทิศทางที่ตรงไปยังขั้วเหนือภูมิศาสตร์โลก ทิศเหนือตาราง(Grid North): ทิศที่ชี้ไปทางเหนือของเส้นตารางบนแผนที่ทางทหาร แผนที่ภาพถ่ายหรือกระดาษตาราง(เหล่า ป.ใช้เป็นหลัก) (นจ.) (นต.) (นข.) GN
Map and Azimuth Terms มุมภาค(ภ)(Azimuth): มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือไปยังแนวพิจารณา เนื่องจากทิศเหนือมี 3 ทิศ ดังนั้นมุมภาคจึงมี 3 มุมภาค คือ 1. มุมภาคเข็มทิศ (Magnetic Azimuth) 2. มุมภาคจริง (True Azimuth) 3. มุมภาคตาราง (Grid Azimuth) ^
Azimuth มุมภาคเข็มทิศ(ภข.)(Magnetic Azimuth): วัดจากทิศเหนือเข็มทิศไปยังแนวพิจารณา มุมภาคจริง(ภจ.)(True Azimuth): วัดจากทิศเหนือจริงไปยังแนวพิจารณา มุมภาคตาราง(ภต.) (Grid Azimuth): วัดจากทิศเหนือตารางไปยังแนวพิจารณา ^ ^ ^ GN มุมภาคตาราง มุมภาคจริง มุมภาคเข็มทิศ แนวพิจารณา จุดวัดมุม
Map and Azimuth Terms ^ 48 A 43 มุมภาคกลับ(ภ.กลับ) (Back Azimuth): มุมภาคของทิศทางที่อยู่ตรงข้ามกับทิศทางของมุมภาคนั้น ซึ่งหมายถึงมุมภาคที่บวกหรือลบด้วย 3200 มิล. ^ AB 48 มุมภาค 1200 มิล. มุมภาคกลับ 4400 มิล. A 43
Map and Azimuth Terms มุมตารางแม่เหล็ก (G-M Angle): ง่ามมุมเล็กระหว่างทิศเหนือตารางกับทิศเหนือเข็มทิศ วัดจากทิศเหนือตารางไปตะวันออกหรือตะวันตก ปกติจะปรากฏอยู่ในขอบระวางแผนที่ทุกแผ่น นำไป + กับค่ามุมเยื้องประจำ GM 120 มิล. W GM 140 มิล. E
Map and Azimuth Terms มุมเยื้องประจำ(ยจ.)(Declination Constant): มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือตารางไปยังทิศเหนือเข็มทิศ ใช้เป็นตัวแก้ในการหาทิศเหนือตารางโดยใช้เข็มทิศวัด เข็มทิศหรือกล้องกองร้อยชนิดเข็มทิศแต่ละอันจะมีค่า มุมเยื้องประจำไม่เท่ากัน ^ 6310 มิล. “
Common Firing Battery terms ที่หมายเล็ง(Aiming Point): จุดที่เห็นเด่นชัดซึ่งใช้เป็นจุดอ้างในการเล็ง เพื่อให้ทิศทางแก่ปืนในการยิงเล็งจำลอง มี 2 อย่าง 1. ที่หมายเล็งไกล(Distant aiming point): ใช้เป็นจุดอ้างในการตั้ง ป.ตรงทิศ การให้ทิศทางแก่ปืนหรือใช้ในการปรับเส้นเล็ง ปกติแล้วควรห่างจาก ป.เบา 1500 เมตร ขึ้นไป จะทำให้มุมทิศผิดพลาดไม่เกิน 1/4 มิล 2. ที่หมายเล็งใกล้(Close-in aiming point): 2.1 หลักเล็ง(Aiming posts) ใช้ 2 หลักเพื่อให้สามารถแก้ความคลาดเคลื่อนเมื่อปืนเขยื้อนหรือถอย โดยปักหลักใกล้ให้อยู่กึ่งกลางของหลักไกลและกล้องเล็ง ป. 2.2 คอลิมิเตอร์(Collimator) เป็นกล้องที่ใช้แทนหลักเล็ง ป.โดยระยะเล็งเป็นอนันต์(ไกลสุด)ปกติจะตั้งห่างกล้องเล็งของ ป. ระหว่าง 4 ถึง 15 เมตร กล้องนี้สามารถใช้ตัวแก้เมื่อปืนเขยื้อนได้เป็นอย่างดี
Types of Aiming point Note Red line= Aiming posts Mountains Note Red line= Aiming posts Blue line= Distant aiming point
Types of Aiming point(Collimator) 40 30 20 10 2 4 6 8 12 4 -15 m. 4 -15 m. 4 -15 m. 4 -15 m. Note Red line= line sight from reticle
Common Firing Battery terms ศูนย์กลางกองร้อย(Battery Center): จุดที่หมายไว้บนพื้นดิน ณ บริเวณกึ่งกลางของที่ตั้งปืนของกองร้อย เป็นจุดที่จะต้องหาพิกัดเพื่อกรุยลงบนแผ่นเรขายิง เพื่อใช้แทนที่ตั้งป.ของกองร้อย A 43
Common Firing Battery terms ปืนหลัก(Base Piece): ปืนที่มีกำลังยิงหรือความเร็วต้นใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยความเร็วต้นของปืนทั้งกองร้อยมากที่สุด ปกติจะตั้งทับ ศก.ร้อย.หรือใกล้ ศก.ร้อย. มักใช้ยิงหาหลักฐาน
Common Firing Battery terms แนวปืน-เป้าหมาย(Gun-Target Line)แนว ป.-ม.) คือเส้นตรงที่ลากเชื่อมต่อระหว่าง ศก.ร้อย.กับเป้าหมายที่จะยิง ส่วนเส้นยิงหรือทิศทางยิง (Line of Fire or Direction of Fire) ก็มีความหมายคล้ายคลึงกันและใช้แทนกันได้ ปกติแล้วทิศทางยิงจะใช้บ่อยกว่า เมื่อตั้ง ป.ตรงทิศไปยังกึ่งกลางเป้าหมาย Line of Fire or Direction of Fire
Common Firing Battery terms แนวแสดงมุมภาค(Orienting Line แนว OL): แนวแสดงมุมภาคหรือเรียกว่า OL คือ แนวที่ทราบทิศทาง(มุมภาค)ในภูมิประเทศแล้ว อยู่ใกล้กับส่วนยิงเพื่อใช้เป็นแนวอ้างในการตั้งปืนตรงทิศ มุมภาคของแนวนี้คือทิศทางจากจุดตั้งกล้องไปยังปลายแนวไกลของแนวแสดงมุมภาคซึ่งหมายไว้ด้วยจุดเล็งเด่นๆ เช่น ตันไม้เดี่ยว ยอดโบสถ์หรือหลักเล็ง เป็นต้น จุดตั้งกล้อง(Orienting Station): จุดที่อยู่บน แนวแสดงมุมภาค(OL) ใช้เพื่อตั้งกล้องกองร้อยในการตั้ง ป.ตรงทิศด้วยวิธีมุมตรงทิศ ปกติจะตอกหมุดหมายไว้แน่ชัด มุมตรงทิศ(Orienting Angle): มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกาจากเส้นยิงหรือทิศทางยิงไปยังแนวแสดงมุมภาค
Common Firing Battery terms
Common Firing Battery terms มุมทิศ(Deflection) ท.): มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกา จากเส้นยิงหรือส่วนที่ต่อออกมาข้างหลังของเส้นยิงไปยังเส้นเล็งซึ่งเล็งไปยังที่หมายเล็งที่กำหนด โดยมีจุดยอดอยู่ที่เครื่องมือวัดมุมนั้นๆ ลักษณะสำคัญของมุมทิศคือลำกล้อง ป.ไปทางขวามุมทิศ “ลด” ลำกล้อง ป.ไปทางซ้ายมุมทิศ “เพิ่ม” ตรงข้ามกับมุมภาคหรือจำว่า ซ้ายเพิ่มขวาลด ^
EXAMPLE LINE OF FIRE 200 mil. DF. 1000 mil. DF. 800 mil.
EXAMPLE LINE OF FIRE 200 mil. DF. 600 mil. DF. 800 mil.
EXAMPLE AZ. 200 mil. AZ. 1600 mil. DF. 2800 mil. AZ. 1800 mil.
Common Firing Battery terms จำลองทิศ(Refer): คำสั่งให้ทำการวัดมุมทิศด้วยกล้องเล็ง ป.หรือกล้องกองร้อยไปยังที่หมายเล็งที่กำหนดให้ โดย ไม่ส่ายลำกล้องปืน หรือแนว 0 - 3200 ของกล้องกองร้อย เมื่อสั่งว่า จำลองทิศ การเล็งจำลอง(Indirect Raying): การเล็งที่ใช้กล้องเล็งของปืน เล็งไปยังที่หมายเล็งเพื่อให้ทิศทางแก่ปืนแทนการเล็งต่อเป้าหมายที่จะยิง ลำกล้องปืนจะชี้ตรงไปยังทิศทางที่ต้องการ โดยตั้งค่ามุมทิศที่กำหนดบนกล้องเล็ง แล้วส่ายลำกล้องปืนไปจนเส้นเล็งของกล้องเล็งทับที่หมายเล็งที่กำหนด การเล็งตรง(Direct Raying): การเล็งโดยใช้เส้นเล็งตรงไปยังเป้าหมายที่จะยิง
EXAMPLE LINE OF FIRE LINE OF SIGHT
Common Firing Battery terms กรวย(Sheaf): ลักษณะหรือรูปแบบของตำบลระเบิดทางข้างของปืนตั้งแต่ ๒ กระบอกขึ้นไป ซึ่งทำการยิงร่วมกัน กรวยขนานคู่/กรวยปกติ (Parallel or Normal Sheaf) กรวยปิด ( Converged Sheaf) กรวยเปิด ( Open Sheaf ) กรวยพิเศษ ( Special Sheaf)
Parallel Or Normal Sheaf
Converged Sheaf
Open Sheaf
Special Sheaf
Sheaf ความกว้างของกรวย(Width Of Sheaf): ความกว้างระหว่างจุดศูนย์กลางของตำบลระเบิดของนัดที่อยู่ทางปีกทั้งสองของกรวยเปิด หาได้โดยเอาความกว้างของระยะฉกรรจ์ของกระสุนหนึ่งนัดคูณด้วยจำนวนปืนที่จะยิง ลบด้วยความกว้างของระยะฉกรรจ์ของกระสุนหนึ่งนัด ความกว้างด้านหน้าของกรวย(Front Of Sheaf): ระยะระหว่างขอบนอกของตำบลระเบิดทางปีกทั้งสองของกรวยเปิดมีค่าเท่ากับความกว้างของกรวย บวกด้วย ๑ ระยะฉกรรจ์ของกระสุน ๑ นัด ความกว้างของตำบลระเบิด: ป.ขนาด 105 มม. “30 เมตร” ความกว้างของตำบลระเบิด: ป.ขนาด 155 มม. “50 เมตร”
Width Of Sheaf(105mm.(30X6(-30))=150)
Front Of Sheaf(105mm.(30X6=180))