โครงสร้างข้อมูล( Data Structure) 5/7/2019
โครงสร้างของข้อมูล Bit (Binary digit) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเก็บได้ มีค่า 0,1 Byte คือกลุ่มของ Bit แทนเป็น 1 Character/อักษร Field คือกลุ่มของ Byte Record (ระเบียน) คือกลุ่มของ fieldที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกันอย่างมีจุดประสงค์ Fileเป็นการนำ Record ที่มีความสัมพันธ์กัน (logical relation) มารวมกันอย่างอย่างมีจุดประสงค์ Database เป็นการนำแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อน ลดความขัดแย้ง มีความถูกต้อง และง่ายต่อการบำรุงรักษา 5/7/2019 Apirada Thadadech
Data Structure & File Organization ข้อมูล เป็นข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่สนใจ การจัดการกับข้อมูลที่เก็บอยู่ใน Memory (Main Memory, Primary Storage) เป็นเรื่องของ Data Structure File Organize เป็นการจัดเก็บข้อมูลที่อยู่บน หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage) 5/7/2019 Apirada Thadadech
ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล Data Redundancy ความซ้ำซ้อนของข้อมูล จัดเก็บไว้หลายที่ เปลื้องเนื้อที่ เกิดความซ้ำซ้อน Data Inconsistency เก็บข้อมูลหลายที่ ทำให้เกิดความสับสนในข้อมูล Data Anomaly เก็บข้อมูลหลายที่ เกิดปัญหาเมื่อมีการแก้ไขข้อมูล ไม่ครบทุกที่ ที่จัดเก็บ 5/7/2019 Apirada Thadadech
Database System ระบบฐานข้อมูล 5/7/2019
ฐานข้อมูล การรวบรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันโดยอยู่ภายใต้หัวเรื่องหรือจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งที่สนับสนุนการดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งขององค์กร เช่น A manufacturing company A bank A hospital A university A government department 5/7/2019 Apirada Thadadech
คุณสมบัติของ Database Adding new, empty file to database; Inserting data into existing files; Retrieving data from existing file; Deleting data from existing file; Removing existing file from database; 5/7/2019 Apirada Thadadech
ประโยชน์ของฐานข้อมูล ลดความซ้ำซ้อนข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล แต่ละหน่วยงานในองค์กร ใช้ข้อมูลร่วมกันได้ กำหนดรูปแบบให้มีมาตรฐานเดียวกัน เข้าใจได้ตรงกัน สามารถกำหมดระบบป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลได้ รักษาความถูกต้องของข้อมูล สามารถตอบสนองความต้องการใช้ข้อมูลในหลายรูปแบบ 5/7/2019 Apirada Thadadech
เปรียบเทียบ File and Database ด้าน แฟ้มข้อมูล ฐานข้อมูล บุคลากร ใช้คนมาก และต้องเพิ่มเมื่อ ข้อมูล มาก และซับซ้อนขึ้น ใช้คนน้อยกว่า แม้จะเพิ่ม จำนวน และความซับซ้อนของข้อมูล การเรียกใช้ข้อมูล ทำงานได้ช้า ยุ่งยาก ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้อง ว่าต้องตามต้องการหรือไม่ ทำได้รวดเร็ว เพราะใช้ Software DBMS which can automatic work การเพิ่มข้อมูล ทำงานได้ช้ากว่า ต้องคอยตรวจสอบ เสมอ ทำได้เร็ว และมีมาตรฐานเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงข้อมูล ทำได้ยุ่งยากกว่า เพราะต้องคอยตรวจสอบ ก่อนการแก้ไขว่า ข้อมูลดังกล่าว สมควรถูกแก้ไขหรือไม่ ทำได้รวดเร็ว เพราะใช้ Software DBMS ช่วยตรวจสอบความถูกต้อง ความปลอดภัย ปลอดภัยต่ำ เพราะ ข้อมูลถูกแก้ไขได้ง่าย ตรวจสอบยาก มีการรักษาความปลอดภัยมีการตรวจสอบขณะใช้ข้อมูล การดูแลรักรักษา สิ้นเปลื้องสำเนา กู้คืนข้อมูลได้ยาก สำรองข้อมูลได้ง่ายกู้คืนง่าย คงความถูกต้องได้ดี ค่าใช้จ่าย สูงขึ้นเมื่อขนาดข้อมูลใหญ่ขึ้น สูงในช่วงแรก แต่ไม่เพิ่มขึ้นเมื่อ ข้อมูลเพิ่ม 5/7/2019 Apirada Thadadech
DBMS นักศึกษา/หลักสูตร/ อาจารย์ นักศึกษา หลักสูตร Database Database 5/7/2019 Apirada Thadadech
DBMS โปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล เพื่อจัดการ และควบคุมความถูกต้อง ความซ้ำซ้อน ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่างๆที่อยู่ภายในฐานข้อมูล 5/7/2019 Apirada Thadadech
หน้าที่ของ DBMS ทำหน้าที่แปลงคำสั่งในรูปแบบที่ฐานข้อมูลเข้าใจ นำคำสั่งไปสั่งให้ฐานข้อมูลทำงาน Retrieve,Update, Delete or Add ป้องกันข้อมูล ตรวจสอบคำสั่งว่าคำสั่งใด ใช้ได้ หรือ ไม่ รักษาความสัมพันธ์ ของข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้ถูกต้องเสมอ ทำหน้าที่ควบคุมให้ฐานข้อมูลทำงานได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ 5/7/2019 Apirada Thadadech
แบบจำลองของฐานข้อมูล(Database Model) คือแบบจำลองที่ใช้อธิบายโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลภายในฐานข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล(Cardinality) ความสัมพันธ์แบบ One-to-one ความสัมพันธ์แบบ one-to-many ความสัมพันธ์แบบ many-to-many 5/7/2019 Apirada Thadadech
Data Structure of database Tuple รายการข้อมูลของแต่ละรายการเทียบเท่ากับ record ในระบบ แฟ้มข้อมูล เช่น ประวัติพนักงานของแต่ละคน Attribute รายละเอียดของแต่ละ attribute ในTuple เช่น ประวัติพนักงาน ประกอบด้วย ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด เพศ การศึกษา เงินเดือน 5/7/2019 Apirada Thadadech
Attribute Key ค่าของAttribute ที่สามารถชี้ความเป็น Tuple ของตัวเองได้ชัดเจน Candidate Key คือ key ขนาดเล็กที่สุดที่ทำให้ข้อมูลแต่ละTuple มีค่าไม่ซ้ำกัน Primary Key Alternate key Foreign key Non key คือฟิลด์อื่นๆที่ไม่ใช่ key แสดงรายละเอียดใดๆของTuple 5/7/2019 Apirada Thadadech
โปรแกรม Access เป็นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database Management) ซึ่งมีระบบการจัดการฐานข้อมูลแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database System : RDBMS) ซึ่งในการจัดเก็บระบบนี้ จะเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) มีคอลัมน์ (Column) และแถว (Row) ซึ่งในตารางจะเก็บข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 5/7/2019 Apirada Thadadech
ระเบียนและเขตข้อมูล ระเบียนหรือเรคอร์ด(Tuple) เขตข้อมูลหรือฟิลด์(Attribute) 5/7/2019 Apirada Thadadech
ความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างตาราง แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One) One-to-One 5/7/2019 Apirada Thadadech
ความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างตาราง แบบหนึ่งต่อหลาย (One-to-Many) One-to-Many 5/7/2019 Apirada Thadadech
ความสัมพันธ์ของข้อมูลระหว่างตาราง แบบหลายต่อหลาย (Many-to-Many) 5/7/2019 Apirada Thadadech
ประเภทของ key คีย์หลัก (Primary Key) คือ ฟิลด์ใดฟิลด์หนึ่งหรือหลาย ๆ ฟิลด์ประกอบกันในตารางที่จะชี้ไปยังข้อมูลแต่ละเรคอร์ดในตาราง โดยที่คีย์หลักจะต้องไม่มีค่าที่ซ้ำกัน คีย์นอก (Foreign Key) คือฟิลด์ที่ทำหน้าที่เป็นคีย์หลักในตารางที่หนึ่ง แต่ทำหน้าที่เป็นฟิลด์ปกติในตารางที่สอง ซึ่งเราจะเรียกฟิลด์นี้ในตารางที่สองว่า คือ คีย์นอก (Foreign Key) 5/7/2019 Apirada Thadadech
ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล พิจารณาองค์ประกอบข้อมูล (ตาราง) ที่จะรวมไว้ในฐานข้อมูล จัดกลุ่มตารางข้อมูลที่ได้จากข้อ 1 และความสัมพันธ์ต่าง ๆ ระหว่างตารางและออกแบบโครงสร้างตาราง กำหนดคีย์หลักให้แก่ตาราง กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตาราง ทดลองป้อนข้อมูล และสร้างวัตถุฐานข้อมูลอื่น ๆ เช่นแบบฟอร์มและรายงานว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ ทบทวนฐานข้อมูลที่ได้ออกแบบไว้ 5/7/2019 Apirada Thadadech
ฐานข้อมูลใน Access สามารถสร้าง: ตาราง (Table) เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวที่กำหนด เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลดิบของฐานข้อมูล แบบสอบถาม (Query) เพื่อใช้เลือกสอบถามหาในสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากตาราง ฟอร์ม (Form) คือเครื่องมือที่ช่วยในการทำงาน เพื่อการรับข้อมูล แสดงข้อมูล หรือการตอบโต้กับผู้ใช้ รายงาน (Report) เพื่อการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆตามต้องการของผู้ใช้ 5/7/2019 Apirada Thadadech