กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ แผน นโยบาย และตัวชี้วัด การดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ นางวิมานรดี รัตนประภา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
แผนงานที่ 8 โครงการเฉลิมพระเกียรติ KPI : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่(M+&M-) เกณฑ์การประเมิน ปี 2561 – 2564 : > ร้อยละ 85 รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน ร้อยละ 85 Small Success ไตรมาส 1 1.มีการวิเคราะห์สถานการณ์ ขนาด และความรุนแรงของปัญหา กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยง 2.จัดทำแผนงานฯ ไตรมาส 2 1.การติดตามประเมินผลการรักษา และการดำเนินงานการคัดกรอง 2.การกำกับการกินยา 3.การคัดกรองกลุ่มเสียง ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ประเมินผล cohort 1/61 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วย TB รายใหม่ (M+ และ M-) ≥ร้อยละ 85 template
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ≥ร้อยละ 85 มาตราการ ตัวชี้วัด เมือง ไทรงาม คลองลาน ขาณุฯ คลองขลุง พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทองฯ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี โกสัมพี จังหวัด **1.อัตราความสำเร็จ รพ.กพ 76.47 การรักษาผู้ป่วยวัณโรค รพ.ทุ่งโพธิ์ 100 100 90 91.67 77.78 81.82 85.71 70 75 83.73 รายใหม่ ≥ร้อยละ 85 เรือนจำ 100 2.ค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ทุกประเภทให้คลอบคลุม 59.5 46.76 53.75 53.67 57.38 35.99 48.56 96.21 62.52 99.13 99.02 55.39 ≥ ร้อยละ 80 อัตราป่วยวัณโรค : แสน เป้าหมาย : ค้นหาผู้ป่วย 102.34 80.42 92.44 92.31 98.68 61.9 83.52 165.47 107.52 170.5 170.31 95.27 เป้าหมาย 172 : แสน
แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกัน เอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ KPI : 15. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก 2561 2562 2564 ร้อยละ 87 ร้อยละ 90 ร้อยละ92 ร้อยละ94 Template
คำนิยาม A = จำนวนคนที่เข้าถึงบริการเชิงรุก (กลุ่มชายรัก ชาย, กลุ่มพนักงานบริการ) B = จำนวนกลุ่มประชากรหลักที่คาดประมาณ ใน พื้นที่ สูตร = (A / B) x 100 เกณฑ์ เป้าหมาย ปี 2561 ร้อยละ 87
ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันเอชไอวีและ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก ปี 2560 เป้าหมาย ปี 2561 อำเภอ เมือง ไทรงาม คลองลาน ขาณุ คลองขลุง พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทอง ปางศิลาทอง บึงสามัคคี โกสัมพี เป้าหมาย (คน) MSM/ SW 364 55 103 154 114 108 72 25 40 43 38 ผลงาน(คน) 87 % 317 48 90 134 100 94 63 22 35 34
มาตรการ 1. บริการป้องกันเชิงรุก หมายถึง กลุ่มประชาการหลัก ได้รับบริการป้องกันโดย โดยกลุ่มประชากรเป้าหมาย ได้รับบริการ ข้อมูลความรู้ในการป้องกันเอชไอวี, STI ได้รับถุงยางอนามัย สารหล่อลื่น(สำหรับ MSM ,SW) ได้รับข้อมูลสถานที่ที่จะไปรับบริการตรวจเอชไอวี ,STI ได้ลงทะเบียนรับบริการโดยมีหมายเลขสมาชิกหรือ UIC 2. ติดตามผลการดำเนินงานในพื้นที่ ในการดำเนินงานกระบวนการ RRTTR สร้างแรงจูงใจให้ อสม./ แกนนำNGO.ในการทำงานเชิงรุก ใช้แนวทางการใช้งบประมาณการบริการป้องกันเอชไอวี จาก สปสช. ปี พ.ศ.2559 3. พัฒนากลไก แก้ไขปัญหาเอดส์ 10 มาตรการ ในระดับอำเภอ โดยคณะกรรมการยุติปัญหาเอดส์อำเภอ และ ในตำบลนำร่อง โดยให้ สสอ./อปท./รพ.สต. ร่วมกันดำเนินงาน และบรรจุเข้าแผนพัฒนาประจำปี ของ อปท. นำร่อง