การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Watt Meter.
ครูปฏิการ นาครอด.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
แผ่นดินไหว.
Chemistry Introduction
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ความดัน (Pressure).
ความเข้มข้นของสารละลาย
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
ยิ้มก่อนเรียน.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
Google Scholar คืออะไร
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ประเภทของการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ จำแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

การแพร่โดยอาศัยตัวพา  การลำเลียงสารโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยไม่ใช้พลังงานจากเซลล์ (Passive transport) ได้แก่  การแพร่ (Diffusion) การแพร่โดยอาศัยตัวพา (Facilitated diffusion)  ออสโมซิส (Osmosis) การแพร่ธรรมดา (Simple diffusion)  ไดอะไลซิส (Dialysis)  อิมบิบิชั่น (Imbibition)  การแลกเปลี่ยนอิออน (Ion exchange) 2. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยใช้พลังงานจากเซลล์ (Active transport)

จากเยื่อหุ้มเซลล์ มี 3 ลักษณะ คือ  การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ โดยการสร้างถุง จากเยื่อหุ้มเซลล์ มี 3 ลักษณะ คือ 1. การนำสารเข้าสู่ภายในเซลล์ (Endocytosis) 3 วิธี คือ  พิโนไซโตซิส (Pinocytosis)  ฟาโกไซโตซิส (Phagocytosis)  การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor-mediated endocytosis) 2. การนำสารออกจากนอกเซลล์ (Exocytosis) 3. การนำสารผ่านเซลล์ (Cytopempsis)

การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ สรุปการลำเลียงสาร การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ แบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ การนำสารเข้าสู่ภายในเซลล์ (Endocytosis) การนำสารผ่านเซลล์ (Cytopempsis) ไม่ใช้พลังงานจากเซลล์ Passive transport ใช้พลังงานจากเซลล์ Active transport การแพร่ ออสโมซิส ไดอะไลซิส การแลกเปลี่ยน อิออน การนำสารออกนอกเซลล์ (Exocytosis) การแพร่ธรรมดา การแพร่โดยอาศัยตัวพา พิโนไซโตซิส (Pinocytosis) ฟาโกไซโตซิส (Phagocytosis) การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor-mediated endocytosis)

ก. การลำเลียงสาร โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1. การลำเลียงโดยผ่านเยื่อหุ้มและไม่ใช้พลังงานจากเซลล์ 1.1 การแพร่ (Diffusion)  การเคลื่อนที่ของโมเลกุล หรืออิออนของสารโดยอาศัยพลังงานจลน์ในโมเลกุลหรืออิออนของสารเอง  ทิศทางการแพร่จะเกิดจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำเสมอ  ในที่สุด บริเวณทั้งสองจะมีความเข้มข้นเท่ากัน ซึ่งเรียกว่าจุดสมดุลของการแพร่ ณ จุดนี้ อัตราการแพร่ไปและกลับมีค่าเท่ากัน จึงเรียกเป็นสมดุลจลน์ (Dynamic equilibrium)

การแพร่แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ การแพร่ธรรมดา (Simple diffusion)  การเคลื่อนที่ของโมเลกุล หรืออิออนของสาร เนื่องจากผลต่างความเข้มข้นโดยในการเคลื่อนที่จะอาศัยพลังงานจลน์ในโมเลกุลหรืออิออนของมันเอง  ไม่จำเป็นต้องใช้พลังงานจากเซลล์และไม่อาศัยตัวพาใดๆ  ตัวอย่างเช่น การเคลื่อนที่ของสารละลายชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ภายนอกเซลล์ โดยมีเยื่อหุ้มเซลล์กั้นขวางดังรูป

หรือ Net flux = Influx - Efflux ภายนอกเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ภายในเซลล์ หรือ Net flux = Influx - Efflux

การแพร่ของสารนั้นเป็นการเคลื่อนที่อย่างไม่มีทิศทางแน่นอน เพราะทิศทางที่แต่ละโมเลกุลจะเคลื่อนที่ขึ้นกับโอกาสที่จะกระทบกับโมเลกุลของอนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการแพร่ของสาร เช่น 1.1.1 การแพร่ในของแข็ง เช่น เกล็ดด่างทับทิมเกล็ดเมธีลีนบลู และเกล็ดโพแทสเซียม ไดโครเมต แพร่ในวุ้น 1.1.2 การแพร่ในของเหลว เช่น โมเลกุลน้ำตาลอิออนของเกลือ แพร่ในน้ำ 1.1.3 การแพร่ในแก๊ส เช่น การแพร่ของโมเลกุลน้ำหอมในอากาศ, การแพร่ของโมเลกุลน้ำหอมในอากาศ, การแพร่ของแก๊สหรือควันไฟในอากาศ

ภาพแสดงการแพร่ของโมเลกุลของสีจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ

ปัจจัยที่ควบคุมการแพร่ 1. ความเข้มข้นของสารที่จะแพร่ สารชนิดเดียวกันแต่มีความเข้มข้นต่างกัน กลุ่มที่มีความเข้มข้นมากกว่าจะมีความสามารถในการแพร่ดีกว่า 2. อุณหภูมิ การเพิ่มระดับอุณหภูมิเป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้กับสารจะทำให้สารเกิดการแพร่ไปได้เร็ว 3. ความดัน การเพิ่มความดันให้กับสาร จะมีผลทำให้สารสามารถเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น

4. สิ่งเจือปน และตัวกลาง สิ่งเจือปนในสารตัวกลางที่จะแพร่ผ่านจะเป็นสิ่งกีดขวางการเคลื่อนที่ของสารทำให้เกิดการแพร่ช้าลง ตัวอย่างที่สารจะแพร่ผ่าน เช่น การแพร่ของแก๊สออกซิเจนในตัวกลางที่เป็นอากาศจะเร็วกว่าตัวกลางที่เป็นน้ำ เนื่องจากโมเลกุลน้ำอยู่กันอย่างหนาแน่น และมีแรงยึดเหนี่ยวกันสูง ทำให้การแพร่ในน้ำช้าลง 5. สถานะของสารที่จะแพร่ สารชนิดเดียวกันแต่อยู่ต่างสถานะกัน ความเร็วในการแพร่จะไม่เท่ากัน เช่น ไอน้ำ จะแพร่ได้เร็วกว่าน้ำ เพราะไอน้ำเป็นก๊าซมีแรงยึดเหนี่ยวน้อย และมีพลังงานจลน์สูง ส่วนน้ำมีแรงยึดเหนี่ยวสูงกว่าและมีพลังงานจลน์ต่ำกว่า

ปัจจัยที่ควบคุมอัตราการแพร่ อัตราการแพร่วัดได้จากระยะทางที่สารแพร่ไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรือการวัดจำนวนของสารที่แพร่ในหนึ่งหน่วยเวลา 1. ระยะทางที่สารแพร่ไปในหนึ่งหน่วยเวลา ในการเคลื่อนที่ของสารเป็นเส้นตรง และมีทิศทางเดียวกันนั้น เราจะพบว่าระยะทางที่สารเคลื่อนที่จะแปรตามเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ แต่ในการเคลื่อนที่อย่างไร้ทิศทาง โมเลกุลเคลื่อนที่กลับไปกลับมาด้วยความเร็วเท่าเดิม จะพบว่าระยะทางที่สารแพร่ออกไปจะแปรตามรากที่สอง (Square root) ของเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ นั้นคือ

ระยะทาง  = ตัวอย่างเช่น :-  เมื่อสารแพร่ออกไปในระยะทาง 1 หน่วย จะใช้เวลา 1 หน่วย  เมื่อสารแพร่ออกไปในระยะทาง 2 หน่วย จะใช้เวลา 4 หน่วย  เมื่อสารแพร่ออกไปในระยะทาง 10 หน่วย จะใช้เวลา 100 หน่วย  เมื่อสารแพร่ออกไปในระยะทาง 1/2 หน่วย จะใช้เวลา 1/4 หน่วย  เมื่อสารแพร่ออกไปในระยะทาง 1/10 หน่วย จะใช้เวลา 1/100 หน่วย

2. ขนาดและน้ำหนักของอนุภาคที่จะแพร่ ถ้าอนุภาคของสารมีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา อัตราการแพร่จะสูงกว่าอนุภาคที่มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก โทมัส แกรแฮม (Thomas Graham) พบว่า อัตราการแพร่ของก๊าซ (R) จะแปรผกผันกับรากที่สองของความหนาแน่น หรือน้ำหนักโมเลกุลของแก๊ส (M) นั่นคือ เช่น อัตราการแพร่ของ CO2 (RCO ) กับอัตราการแพร่ของ CO2 (RO2) เป็นดังนี้ 2 เพราะฉะนั้นอัตราการแพร่ของ O2 จะสูงกว่าอัตราการแพร่ของ CO2 1.17 เท่า

3. อุณหภูมิ 4. ความหนาแน่นของตัวกลาง 5. ความสามารถในการละลาย  เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จะทำให้อัตราการแพร่ของสารสูงขึ้น เพราะสารมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น 4. ความหนาแน่นของตัวกลาง  สารที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน แพร่ผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน อัตราการแพร่จะไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่น การแพร่ในอากาศจะมีอัตราการแพร่สูงกว่าในน้ำ เพราะน้ำมีความหนาแน่นสูงกว่าอากาศ 5. ความสามารถในการละลาย  สารที่ละลายได้ดีจะมีอัตราการแพร่สูงกว่าสารที่ละลายได้น้อย

การแพร่โดยอาศัยตัวพา (Facilitated diffusion)  คือ การแพร่ของโมเลกุลหรืออิออนของสารโดยอาศัยตัวพา (Carrier) ซึ่งเป็นสารจำพวกโปรตีนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์เป็นตัวนำไปโดยไม่ต้องใช้พลังงานจากเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ภายในเซลล์ ภายนอกเซลล์ C C S S SC SC แสดงการเคลื่อนที่ของสาร (S) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยอาศัยตัวพา carrier (C)

คุณลักษณะของการแพร่โดยอาศัยตัวพา 1. การเคลื่อนที่โดยอาศัยตัวพาจะถึงจุดสมดุลของการแพร่เร็วกว่าการแพร่ธรรมดา  เนื่องจากตัวพาช่วยขนส่งสาร  ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบนี้ เช่น การแพร่ของกลูโคสเข้าสู่เซลล์เม็ดเลือดแดงของคน 2. ถ้าพิจารณาอัตราการเคลื่อนที่ของสารระหว่างการแพร่ธรรมดากับการแพร่โดยอาศัยตัวพา  เมื่อความเข้มข้นระหว่าง 2 ด้านของเยื่อหุ้มเซลล์ต่างกันมากๆ จะพบว่าอัตราการแพร่จะไม่แปรตามระดับความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด เนื่องจากตัวพามีปริมาณจำกัด ทุกตัวต้องทำหน้าที่ขนส่งสารทั้งหมด

 ดังนั้นความเข้มข้นของสารที่มากกว่าเกินไปจึงไม่ทำให้อัตราการแพร่เร็วขึ้นได้อีก ซึ่งต่างจากการแพร่ธรรมดา ดังกราฟ

ภาพแสดงการเกิดไดอะไลซิสโดยการแพร่ของโมเลกุลน้ำตาลออกมายังน้ำ ที่อยู่ภายนอกเยื่อเลือกผ่าน