การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ เช่น HA เป็นกรดอ่อนที่แตกตัวเป็นไอออนไม่หมด และมีภาวะสมดุลเกิดขึ้นดังนี้ ถ้าสารละลาย HA เข้มข้น 1 mol/dm3 แตกตัวได้ร้อยละ 5 หมายความว่า ในสารละลายปริมาตร 1 dm3 มีกรด HA ละลายอยู่ 1 mol เมื่อถึงภาวะสมดุลจะมีกรด HA เพียง 0.05 mol เท่านั้นที่แตกตัวเป็นไอออน
การแตกตัวของกรดอ่อน ตัวอย่างที่ 3
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน HA ในน้ำ เมื่อปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุล เขียนสมการ และค่าคงที่สมดุลได้ดังนี้ ค่าคงที่การแตกตัวของกรด ใช้สัญลักษณ์ Ka
การแตกตัวของกรดอ่อน ค่าคงที่การแตกตัวของกรดมอนอโปรติกในน้ำ ที่ 25oC
การแตกตัวของกรดอ่อน การแตกตัวของกรดไดโปรติก ขั้นที่ 1 ; โมเลกุลของ H2A แตกตัวได้ H3O+ กับ HA- ขั้นที่ 2 ; โมเลกุลของ HA- แตกตัวได้ H3O+ กับ A2-
การแตกตัวของกรดอ่อน การแตกตัวของ H2CO3 ขั้นที่ 1 ; ขั้นที่ 2 ;
การแตกตัวของกรดอ่อน ค่าคงที่การแตกตัวของกรดพอลิโปรติกบางชนิดในน้ำ ที่ 25oC
การแตกตัวของกรดอ่อน ค่าคงที่การแตกตัวของกรดพอลิโปรติกบางชนิดในน้ำ ที่ 25oC
การแตกตัวของกรดอ่อน ตัวอย่างที่ 4
การแตกตัวของกรดอ่อน ตัวอย่างที่ 5
การแตกตัวของเบสอ่อน การแตกตัวของสารละลายแอมโมเนีย การแตกตัวของเบสอ่อนสามารถคำนวณค่าคงที่สมดุลได้เช่นเดียวกับกรดอ่อน ซึ่งจะได้เป็น ค่าคงที่การแตกตัวของเบส ใช้สัญลักษณ์ Kb
การแตกตัวของเบสอ่อน ค่าคงที่การแตกตัวของเบสบางชนิด
การแตกตัวของเบสอ่อน ตัวอย่างที่ 6
การแตกตัวของเบสอ่อน ตัวอย่างที่ 7
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 1. 2.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 3.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 4.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 5.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 6.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 7.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 8.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 9.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 10.
แบบฝึกหัด ; การแตกตัวของกรด-เบส 11.