Family assessment
ครอบครัว คือ กลุ่มคนที่มารวมตัวกัน อาจไม่จำเป็นต้องมีความสัมพันธ์กันทางสายเลือด หรือ การแต่งงาน แต่ตกลงที่จะอยู่ร่วมกันและดูแลกันไปตลอด
ประเภทของครอบครัว ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) ครอบครัวขยาย (Extended Family) ครอบครัวผสม (Reconstituted Family) ครอบครัวที่มีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียว (Single-Parent Family)
คุณสมบัติของระบบครอบครัว ครอบครัวเป็นระบบเปิดทางสังคมและวัฒนธรรม (Open Socio Cultural System) ครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลง (Transformation) ครอบครัวมีการจัดระบบภายในเพื่อความสมดุจ (Homeostasis) ครอบครัวมีการสื่อสาร (Communication) ครอบครัวที่มีกฎที่สมาชิกต้องถือปฏิบัติ (Rules of family) ครอบครัวมีขอบเขตของตนเอง (Boundaries)
การทำหน้าที่ของครอบครัว การช่วยแก้ปัญหา (Problem Solving) การสร้างการสื่อสาร (Communication) การกำหนดบทบาท (Role) การตอบสนองต่ออารมณ์ (Affective Responsiveness) ความผูกพันทางอารมณ์ (Affective Involvement) การควบคุมพฤติกรรม (Behavior Control)
วงจรชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)
ระยะที่ 1 เริ่มสร้างครอบครัว วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ระยะที่ 1 เริ่มสร้างครอบครัว วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : แยกตัวจากครอบครัวเดิมอุทิศตนให้กับครอบครัวใหม่ วิธีปฏิบัติ เป็นตัวของตัวเองและเป็นอิสระจากครอบครัวเดิม สร้างความสัมพันธ์ลึกซึ้งกับบุคคลอื่น (สามี/ภรรยา) ปรับความสัมพันธ์กับครอบครัวเดิม ทำงานสร้างฐานะ
ระยะที่ 2 ครอบครัวเริ่มมีบุตร วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ระยะที่ 2 ครอบครัวเริ่มมีบุตร วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : ต้อนรับสมาชิกใหม่(ลูก) เข้าสู่ครอบครัว วิธีปฏิบัติ ปรับความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาเพื่อต้อนรับสมาชิกใหม่(ลูก) ปฏิบัติบทบาทหน้าที่ในฐานะพ่อแม่อย่างเหมาะสม ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติกับลูกของตน
ระยะที่ 3 ครอบครัวที่มีบุตรเล็ก วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ระยะที่ 3 ครอบครัวที่มีบุตรเล็ก วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : ให้ความอบอุ่นส่งเสริมพัฒนาการ วิธีปฏิบัติ เตรียมพื้นที่เป็นสัดส่วนให้ลูกที่เริ่มโต เตรียมพื้นที่ที่เป็นสัดส่วนให้คู่ของตน ปรับตัวอยู่ระหว่างความเป็นส่วนตัวของชีวิตคู่และความเป็นครอบครัวเดียวกันกับลูก
ระยะที่ 4 ครอบครัวที่มีบุตรวัยเรียน วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ระยะที่ 4 ครอบครัวที่มีบุตรวัยเรียน วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : สร้างวินัยและความรับผิดชอบแก่ลูก วิธีปฏิบัติ สร้างกฎระเบียบใหม่สำหรับบุตรที่โตขึ้นและเริ่มรู้จักสังคม เริ่มแบ่งงานภายในบ้านให้ลูกรับผิดชอบ
ระยะที่ 5 ครอบครัวที่มีบุตรวัยรุ่น เริ่มเข้าสู่วัยกลางคน ระยะที่ 5 ครอบครัวที่มีบุตรวัยรุ่น เริ่มเข้าสู่วัยกลางคน ภารกิจ : ส่งเสริมให้ลูกมีความเป็นตัวของตัวเอง วิธีปฏิบัติ กำหนดขอบเขตและภาระหน้าที่ที่วัยรุ่นควรมีในบ้าน สร้างความสัมพันธ์กับลูกวัยรุ่น เตรียมใจกับการแยกตัวของวัยรุ่นรวมถึงการแยกออกจากบ้านในอนาคต
ระยะที่ 6 ครอบครัวที่มีบุตรแยกย้ายออกจากบ้าน วัยกลางคน ระยะที่ 6 ครอบครัวที่มีบุตรแยกย้ายออกจากบ้าน วัยกลางคน ภารกิจ : ยอมรับการแยกจากไปของลูกและการเข้ามาของเขย - สะใภ้ วิธีปฏิบัติ ปรับตัวกับการหมดบทบาทความรับผิดชอบของ “พ่อ – แม่” ลูกแยกออกจากบ้าน รับผิดชอบตนเอง มีแฟน มีคู่ครอง พ่อแม่ พี่น้องของตนเองเริ่มเข้าสู่วัยชราและเริ่มเจ็บป่วย อาชีพมั่นคงและประสบผลสำเร็จ ปรับตัวกับความสัมพันธ์กับคู่ครองของตนที่มีมายาวนานและเริ่มชินชา
ระยะที่ 7 ครอบครัวที่อยู่ในวัยเกษียณ เริ่มเข้าสู่วัยชรา ระยะที่ 7 ครอบครัวที่อยู่ในวัยเกษียณ เริ่มเข้าสู่วัยชรา ภารกิจ : ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในบทบาทของตน เนื่องจากเข้าสู่วัยชรา วิธีปฏิบัติ ปรับตัวกับภาวะที่ไม่มีงานทำ/บทบาทของวัยชรา สร้างความสัมพันธ์และมีบทบาทใหม่กับลูกหลานและคู่ชีวิต ปรับตัวกับความเสื่อมโทรมของสังขารตนเองและคู่ครองแสวงหา พยายามคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพในการทำงานและความกระตือรือร้นในชีวิตของตนเอง
ระยะที่ 8 ครอบครัวที่อยู่ในวัยชรา วัยชรา ระยะที่ 8 ครอบครัวที่อยู่ในวัยชรา วัยชรา ภารกิจ : เตรียมตัวเตรียมใจสำหรับวาระสุดท้ายของตนเอง วิธีปฏิบัติ ปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามสังขารความเจ็บป่วยของตนเองและคู่ครอง ปรับตัวกับการสูญเสียความเป็นตัวของตัวเองโดยต้องพึ่งพาลูกหลานมากขึ้น ปรับตัวกับการสูญเสียคู่ชีวิต เพื่อนและสังคมที่ตนเองเคยคุ้นเคยมาตลอดชีวิตเหมือนถูกทิ้งให้อยู่ในโลกใหม่ แสวงหาบทบาทที่เหมาะสมของวัยชรา และเตรียมสำหรับวาระสุดท้าย
ขั้นตอนการใช้เครื่องมือวงจรชีวิตครอบครัว ทำความเข้าใจกับวงจรชีวิตครอบครัวแต่ละระยะ ประเมินว่า ครอบครัวปฏิบัติภารกิจที่สำคัญได้สำเร็จหรือไม่ - ถ้าครอบครัวปฏิบัติภารกิจสำคัญสำเร็จ ครอบครัวนั้นจะสามารถก้าวไปสู่วงจรชีวิตครอบครัวระยะต่อไปได้โดยไม่มีความเครียด - แต่ในครอบครัวที่ปฏิบัติภารกิจสำคัญไม่สำเร็จจะทำให้ครอบครัวนั้นเผชิญกับ ความเครียด นำไปสู่การเกิดปัญหาในครอบครัวได้
ขั้นตอนการใช้เครื่องมือวงจรชีวิตครอบครัว คัดกรองความเครียดครอบครัวและสมาชิกในครอบครัว - ประเมินว่าครอบครัวสามารถจัดการกับความเครียด (Family Coping) ได้หรือไม่ และว่าความเครียดนั้นมีผลกระทบต่อสมาชิกในครอบครัวอย่างไร - วางแผนการดูแลที่เฉพาะสำหรับผู้รับบริการแต่ละรายโดยการพยากรณ์จากธรรมชาติของวงจรชีวิตครอบครัวในระยะสั้น ๆ ติดตามดูแลต่อเนื่อง
การวิเคราะห์ระบบครอบครัว (Family system assessment)
การวิเคราะห์ระบบครอบครัว เป็นครอบครัวระยะใด (Family life cycle) มีใครอยู่บ้าง (Family as a system) ปกติอยู่กันอย่างไร มีใครทำอะไรกันบ้าง (Roles, Family stability or homeostasis) ผู้อาวุโสตามลำดับเป็นใครบ้าง (Hierarchy)
การวิเคราะห์ระบบครอบครัว มีมุ้งเล็กในมุ้งใหญ่อย่างไร (Boundaries, Alliance, Coalition) เมื่อเกิดปัญหาในครอบครัว ครอบครัวมีการปรับตัวอย่างไร (Family coping) ครอบครัวมีรูปแบบการแก้ปัญหาที่ผ่านมาอย่างไรถ่ายทอดข้ามรุ่นหรือไม่ (Family pattern) ใครคือผู้ที่อาจจะมีโอกาสเกิดปัญหาในอนาคตบ้าง(ผู้ป่วยแอบแฝง หรือ Scapegoat)
เครื่องมืออย่างงายในการประเมินครอบครัว แผนผังครอบครัว (Family genogram) ผังครอบครัวตามกาลเวลา(Time flow chart) วงจรชีวิตครอบครัว (Family life cycle) การวิเคราะห์ระบบครอบครัว (Family system assessment)
แผนภูมิครอบครัว Genogram วาดอย่างน้อย 3 รุ่น เริ่มจากตัวผู้ป่วยหลัก ลำดับพี่น้อง/สามีภรรยา จากซ้ายไปขวา วงรอบสมาชิกบ้านเดียวกับผู้ป่วย รายละเอียดสมาชิก ความสัมพันธ์ในครอบครัว
การวิเคราะห์ระบบครอบครัว เป็นครอบครัวระยะใด มีใครอยู่บ้าง ปกติอยู่กันอย่างไร มีใครทำอะไรกันบ้าน ผู้อาวุโสตามลำดับเป็นใครบ้าง