โรคทางพันธุกรรม คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือของโครโมโซมโครโมโซม  ตั้งแต่แรก เกิดหรือตั้งแต่ปฏิสนธิ หรืออาจเกิดการผิดปกติได้ในภายหลัง ทำให้มีผลเกิดภาวะผิดปกติทางร่างกาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการเปิดเว็บภาษาไทย ( สำหรับผู้เป็นสมาชิกแล้ว เท่านั้น )
Advertisements

10 อันดับ เลขทะเบียนรถยนต์สวยราคาแพงที่สุดในประเทศไทย
ลักษณะทางพันธุกรรม นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
Login เข้าสู่ระบบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ 1. เข้าหน้าจอเจ้าหน้าที่ 2. เข้าสู่ระบบงานเจ้าหน้าที่โดยการ loginwww.xxxx.xx/administrator.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ ทางพันธุกรรม
ข้อสอบ จำนวนเชิงซ้อน.
อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) Input หมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผลโดย User จะเป็นผู้ป้อนข้อมูลเข้าสู่ เครื่อง.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 6 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Microsoft Word 2010.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
งบการเงินรวม 9/20/2018.
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Concept of Programing.
สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life
จัดทำข้อมูลวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การแพ้ยา
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Sex Chromosome
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
บทที่ 3 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ (Simplex Method) (ต่อ) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
ทบทวน สนามแม่เหล็ก.
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การประเมินส่วนราชการ
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
แนวทางเข้าสู่ตำแหน่ง ระดับเชี่ยวชาญ-ทรงคุณวุฒิ
จรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์.
นาย กองทัพ ปรีเดช เลขที่1ก ชั้นม.5/1
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
สวัสดิการ พนักงานส่วนท้องถิ่น
HAND BAG 1 HM-01034B 42x31x16 น้ำตาล HM x36x6 แทน HL-01043B
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
โรคทางพันธุกรรม.
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
ต่าง รูปร่าง Allele = Allelomorph
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
CARBOHYDRATE METABOLISM
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
วัตถุประสงค์ หลักการบัญชีทางด้านผู้รับฝากขาย
“แนวทางการจัดสรรงบประมาณและ การตรวจสอบประเภทเงิน”
กิจกรรมที่ 9 การสร้างตัวแปร ใน Scratch.
การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
COLOR INDEX : กำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อการสำรวจหาความต้องการ START HERE
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
เงินสดและการควบคุมเงินสด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคทางพันธุกรรม (โรคที่เกิดจากความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมเพศ)

โรคทางพันธุกรรม คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือของโครโมโซมโครโมโซม  ตั้งแต่แรก เกิดหรือตั้งแต่ปฏิสนธิ หรืออาจเกิดการผิดปกติได้ในภายหลัง ทำให้มีผลเกิดภาวะผิดปกติทางร่างกาย หรือ เกิดภาวะเจ็บป่วยได้ ซึ่งโรคทางพันธุกรรม อาจสามารถ หรือไม่สามารถถ่ายทอดสู่รุ่นลูกรุ่นหลานได้แล้วแต่กรณี โรคทางพันธุกรรมอาจมีสาเหตุมาจากการถ่ายทอด ทางพันธุกรรมของพ่อและแม่ หากยีนหรือของโครโมโซม ของพ่อและแม่มีความผิดปกติแฝงอยู่ โดยความผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากการผ่าเหล่าหรือการกลาย พันธุ์ของยีนหรือของโครโมโซมมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษได้ โดยความผิดปกติของยีนหรือของโครโมโซมนี้อาจ มาจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่การถ่ายทอดทางพันธุกรรมจากรุ่นก่อนหน้าได้ อย่างเช่น การได้รับสารก่อ มะเร็ง ในขณะที่มารดาตั้งครรภ์อาจได้รับสารเคมีหรือสารพิษบางชนิดหรือจากการขาดสารอาหารบางชนิด ได้, การได้รับหรือสัมผัสกับกัมมันตภาพรังสีจากสารหรือธาตุกัมมันตรังสี เป็นต้น ทั้งนี้โรคทางพันธุกรรม เป็นโรคที่พบได้น้อยและโอกาสเกิดได้น้อย

โรคที่เกิดจากความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในโครโมโซมเพศ

โครโมโซมเพศ ประกอบด้วยโครโมโซม 1 คู่ หรือ 2 แท่ง ในผู้หญิง เป็นแบบ XX ส่วนในผู้ชายเป็นแบบ XY โรคที่เกิดความผิดปกติในโครโมโซม สามารถเกิดได้ในทั้งหญิงและชาย แต่จะมีโอกาสเกิดขึ้นมากในเพศใดเพศหนึ่ง โดยลักษณะที่ควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ได้แก่ หัวล้าน ตาบอดสี โรคฮีโมฟีเลีย โรคภาวะพร่องเอนไซม์ จี - 6 - พีดี ( G-6-PD ) โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ และอาการต่าง ๆ นี้ มักพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง เนื่องจากผู้ชายมีโครโมโซม x เพียงตัวเดียว โรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ

ตาบอดสี (Color blindness)

ฮีโมฟีเลีย (Hemophilia) ฮีโมฟีเลีย (Hemophilia) โรคฮีโมฟีเลีย คือ โรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือเลือดออกง่ายหยุดยาก เป็นโรคทางพันธุกรรมที่พบมากในเพศชาย เพราะยีนที่กำหนดอาการโรคฮีโมฟีเลียจะอยู่ใน โครโมโซม x และถ่ายทอดยีนความผิดปกตินี้ให้ลูก ส่วนผู้หญิงหากได้รับโครโมโซม x ที่ผิดปกติ ก็จะไม่แสดงอาการ เนื่องจากมีโครโมโซม x อีกตัวข่มอยู่ แต่จะแฝงพาหะแทน           ลักษณะอาการ คือ เลือดของผู้ป่วยฮีโมฟีเลียจะไม่สามารถแข็งตัวได้ เนื่องจากขาดสารที่ทำให้เลือดแข็งตัว อาการที่สังเกตได้ เช่น เลือดออกมากผิดปกติ เลือดกำเดาไหลบ่อย ข้อบวม เกิดแผลฟกช้ำขึ้นเอง แต่โรคฮีโมฟีเลียนี้ สามารถรักษาได้ โดยการใช้สารช่วยให้เลือดแข็งตัวทดแทน

ภาวะพร่องเอนไซม์ จี- 6 - พีดี (G-6-PD : Glucose-6-phosphate dehydrogenase)           โรคพร่องเอนไซม์ G6PD หรือ Glucose-6-phosphate dehydrogenase เป็นโรคทางพันธุกรรมที่ทำให้เม็ด เลือดแดงแตกได้ง่ายเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น ซึ่งสาเหตุของ ภาวะพร่องเอนไซม์ จี - 6 - พีดี นั้นเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมแบบ X ทำให้เอนไซม์ G6PD ที่คอยปกป้องเม็ดเลือดแดงจากการทำลายของสารอนุมูลอิสระบกพร่อง จนไม่สามารถป้องกันการทำลาย สารอนุมูลอิสระที่เป็นพิษต่อเซลล์เม็ดเลือดแดงได้ ผู้ป่วยจึงมีอาการซีดเป็นครั้งคราว เนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตกอย่างฉับพลัน ใน เด็กจะมีอาการดีซ่าน ส่วนผู้ใหญ่จะปัสสาวะเป็นสีดำ ถ่ายปัสสาวะน้อยจนเกิดอาการไตวายได้ โดยสิ่งที่สามารถกระตุ้นให้เกิด อาการได้ เช่น อาหารอย่างถั่วปากอ้า ที่มีสารอนุมูลอิสระมาก รวมทั้งการติดเชื้อโรคต่าง ๆ ทำให้เซลล์เม็ดเลือดขาวหลั่งสารอนุมูล อิสระมากขึ้น           ทั้งนี้ โรคนี้ไม่สามารถรักษาได้ ถ้ารู้จักการระวังตัว เช่น หลีกเลี่ยงยา หรืออาหารที่แสลง ก็จะไม่เกิดอันตราย ที่สำคัญคือ ผู้ป่วยต้องดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ไตวาย

กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ ( Turner's syndrome ) กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ ( Turner's syndrome )   เกิดในเฉพาะเพศหญิง สาเหตุจากโครโมโซม X หายไป 1 แท่ง ทำให้เหลือโครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง ผู้ป่วยจะมีอาการปัญญาอ่อน และตัวเตี้ย ที่บริเวณคอมีพังผืดกางเป็นปีก มักเป็นหมันและไม่มีประจำเดือน มีอายุเท่ากับคนปกติทั่ว ๆ ไป

กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ ( Klinefelter's syndrome ) กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ ( Klinefelter's syndrome ) พบในเพศชาย เกิดจากโครโมโซม X เกินมา 1 หรือ 2 โครโมโซม ทำให้คารีโอไทป์เป็น 47, XXY หรือ 48, XXXY ผู้ป่วยจะมีอาการปัญญาอ่อน รูปร่างอ้อนแอ้น สูงชะลูด หน้าอกโต มีเต้านมเหมือนผู้หญิง และเป็น หมัน เพราะไม่มีอสุจิ และมีอัณฑะเล็ก ยิ่งถ้ามีจำนวนโครโมโซม X มาก อาการปัญญาอ่อนก็จะรุนแรงมากขึ้น

กลุ่มอาการทริปเปิ้ลเอ็กซ์ ( Triple x syndrome ) กลุ่มอาการทริปเปิ้ลเอ็กซ์ ( Triple x syndrome ) เกิดในผู้หญิง โดยจะมีโครโมโซม x เกินมา 1 แท่ง ทำให้เป็น XXX รวมมีโครโมโซม 47 แท่ง ทำให้ผู้หญิงคนนั้นเป็นหมัน เจริญเติบโตไม่เต็มที่ และไม่มีประจำเดือน

กลุ่มอาการดับเบิลวาย ( Double y syndrome ) กลุ่มอาการดับเบิลวาย ( Double y syndrome ) เกิดในผู้ชาย ที่มีโครโมโซม y เกินมา 1 แท่ง มีจีโนไทป์เป็น xyy เรียกว่า Super Male ลักษณะจะ เป็นผู้ชายที่มีร่างกายปกติ แต่เป็นหมัน มีอารมณ์ฉุนเฉียว สูงมากกว่า 6 ฟุต มีระดับฮอร์โมนเพศชายในเลือด สูงกว่าปกติ ส่วนใหญ่เป็นหมัน ไม่สามารถมีบุตรได้

บรรณานุกรม http://health.kapook.com/view5094.html http://www.jomgan.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B2% E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3 %E0%B8%A3%E0%B8%A1- %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E.html http://www.student.chula.ac.th/~56370534/genetic3.html

สมาชิก นางสาวปรียาพร สำอางอินทร์ 10ก นางสาวอภิสรา โพธิดอกไม้ 11ก นางสาวณัฐชยา ทองนุช 14ข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1