CARBOHYDRATE METABOLISM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ร่างกายจะใช้กรดอะมิโนเป็นแหล่งให้พลังงาน เมื่อ
Advertisements

Carbohydrate Ramida Amornsitthiwat, M.D. Pichanee Chaweekulrat, M.D.
พิสิฏฐ์ ประพันธ์วัฒนะ
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
การสังเคราะห์ด้วยแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ชีวเคมีของพืช ภาคปลาย 2555
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
ชีวเคมี II Bioenergetics.
บทปฏิบัติการที่ 2 การผลิตเอนไซม์อินเวอร์เทส
Protein.
ENZYME.
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
Plant Senescence -Program cell death (PCD)
Protein and Amino Acid Metabolism
Japanese style diet นางสาววรรณชนก บุญชู
การฝึกงานของนักเรียนทุนรัฐบาล (ไทยพัฒน์) สำนักงาน กพ
Introduction to Metabolism
Biochemistry Quiz 2009.
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง
Viral Multiplication ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
Citric Acid Cycle.
RNA synthesis and processing รัชนีกร กัลล์ประวิทธ์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
RNA (Ribonuclei c acid). RNA มี 3 ชนิด คือ 1.Ribosomal RNA (rRNA) ไร โบโซมอล อาร์เอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบหลัก ของ ribosome 2.Transfer RNA (tRNA)
Water Soluble Vitamins
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
Reprod. Physio. of Domestic Animal
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
Energy transformation การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
5 Nov 2014 Metabolism of Amino Acids II
Basic and Metabolism of Protein Donrawee Leelarungrayub (BSc, PT), (Ph.D. Biochem) Department of Physical Therapy Faculty of Associated Medical Sciences.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
Biochemistry II 2nd Semester 2016
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.ธนวัฒน์ ชัยพงศ์พัชรา วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Introductory Biochemistry (1/ 2552)
บทที่ 4 หน่วยของสิ่งมีชีวิต.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE.
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
Photosynthesis กรวรรณ งามสม.
Biochemistry II 1st Semester 2018
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
อ.ธนวัฒน์ ชัยพงศ์พัชรา วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - PHOSPHOLIPID METABOLISM
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
คำขอแก้ไขรายการขึ้นทะเบียน
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
การสังเคราะห์ด้วยแสง
CARBOHYDRATE METABOLISM
ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง จะเกิดแตกต่างกัน 3 ลักษณะ ตามกลุ่มพืชจำแนกปฏิกิริยานี้ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. พืช ซี-3 (C3-plants) พืช ซี-3 เป็นกลุ่มพืชที่ใช้ไรบูไลส.
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
โรคหลอดเลือดในสมอง (STROKE)
Biochemistry II 1st Semester 2019
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CARBOHYDRATE METABOLISM : GLUCONEOGENESIS : GLYCOGEN METABOLISM

GLUCONEOGENESIS - เกิดขึ้นในเซลล์ตับ (90%)และไต (10%) - เกิดขึ้นในเซลล์ตับ (90%)และไต (10%) - เกิดขึ้นเพื่อเปลี่ยน lactate ที่เกิดขึ้นในเซลล์กล้ามเนื้อจากการย่อยสลายกลูโคสในสภาวะไร้ออกซิเจนเมื่อต้องออกกำลังมากและ lactate จากเซลล์เม็ดเลือดแดงให้กลับเป็นกลูโคส - เกิดขึ้นเมื่อ glycogen สะสมในร่างกายเริ่มหมดลง โดยใช้กรดอะมิโนจากโปรตีนในกล้ามเนื้อ - นอกจากนี้ glycerol ที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลาย triglyceride และสารมัธยันตร์ใน TCA cycle ยังใช้ในการสร้างกลูโคสได้ - การสังเคราะห์กลูโคสวิธีนี้ไม่พึ่งพา acetyl CoA ที่ได้จากสารพวกไขมันแต่อย่างใด ยกเว้นกรณีที่เกิดขึ้นในพืชโดยวิถี glyoxylate pathway - กรดอะมิโน lysine และ leucine เท่านั้นที่ไม่สามารถใช้สร้างกลูโคสได้

GLUCONEOGENESIS ส่วนใหญ่ใช้ปฏิกิริยาในวิถีไกลโคไลซิส ยกเว้นปฏิกิริยาที่ทำงานโดยเอนไซม์ hexokinase (glucokinase), phosphofructokinase, และ pyruvate kinase

GLUCONEOGENESIS - การเปลี่ยน pyruvate เป็น phosphoenolpyruvate เพื่อเริ่มการสังเคราะห์กลูโคสต้องอาศัย 2 ปฏิกิริยาเฉพาะ คือ 1. ปฏิกิริยาที่อาศัยการทำงานของเอนไซม์ pyruvate carboxylase ซึ่งต้องอาศัย biotin เป็นโคเอนไซม์และเอนไซม์นี้พบเฉพาะใน mitochondrial matrix เท่านั้น acetyl-coenzymeA หรือ acylated coenzyme A เป็น allosteric activator

GLUCONEOGENESIS 2. ปฏิกิริยาที่อาศัยการทำงานของเอนไซม์ phosphoenolpyruvate carboxykinase เอนไซม์นี้ในเซลล์สิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น ในคน พบทั้งใน cytosol และ mitochondrial matrix แต่บางชนิดพบเฉพาะที่ใดที่หนึ่ง

GLUCONEOGENESIS ในเซลล์ที่มีเอนไซม์ phosphoenolpyruvate carboxykinase เฉพาะใน cytosol oxaloacetate ซึ่งไม่สามารถขนส่งผ่าน membrane ของไมโตคอนเดรียได้ ต้องถูกเปลี่ยนเป็น malate ซึ่งเป็นรูปที่ขนส่งออกนอกไมโตคอนเดรียได้และถูกเปลี่ยนกลับมา เป็น oxaloacetate อีกทีใน cytosol ก่อนเข้าสู่ปฏิกิริยาเปลี่ยนให้ เป็น phosphoenolpyruvate แล้วใช้ปฏิกิริยาในวิถีไกลโคไลซิส เปลี่ยนต่อไปจนได้ fructose-1,6-bisphosphate

GLUCONEOGENESIS เมื่อได้ fructose-1,6-bisphosphate แล้ว ปฏิกิริยาต่อไปจะใช้ปฏิกิริยาเฉพาะจากการทำงานของเอนไซม์ fructose-1,6-bisphosphatase citrate กระตุ้นการทำงานของเอนไซม์นี้ AMP, -D-fructose-2,6-bisphosphate เป็น allosteric inhibitor ของเอนไซม์นี้ โดยมี fructose-2,6-bisphosphate เป็นตัวเสริมฤทธิ์ การยับยั้งของ AMP

GLUCONEOGENESIS ปฏิกิริยาสุดท้ายเป็นการเปลี่ยน glucose-6-phosphate เป็น Glucose โดยการทำงานของเอนไซม์ glucose-6-phosphatase ซึ่งพบอยู่ใน membrane ของ endoplasmic reticulum (ER) ของเซลล์ตับและเซลล์ไต แต่ไม่พบในเซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์สมอง ดังนั้นการสร้างกลูโคสจึงไม่พบในเซลล์ทั้งสองชนิดนี้ vesicle ที่บรรจุกลูโคสถูกส่งไปที่plasma membrane ที่ซึ่งถุงนี้หลอมรวมแล้วปลดปล่อยกลูโคสออกสู่กระแสเลือด

REGULATION OF GLUCONEOGENESIS

GLUCONEOGENESIS NET REACTION FROM PYRUVATE TO GLUCOSE

OVERVIEW OF BIOSYNTHETIC PATHWAYS OF 8 ESSENTIAL MONOSACCHARIDES

GLYCOGEN METABOLISM ไกลโคเจนถูกสะสมอยู่ใน cytosol ของเซลล์ตับและเซลล์กล้ามเนื้อใน รูปของgranuleที่มีน้ำหนักโมเลกุล ตั้งแต่ 6 ล้านถึง1,600 ล้าน

เริ่มแรกมาจากการทำงานของเอนไซม์ GLYCOGEN DEGRADATION เริ่มแรกมาจากการทำงานของเอนไซม์ Glycogen phosphorylase เกิดปฏิกิริยา Phosphorolysis ขึ้นที่ปลายนอนรีดิวซิ่ง ได้ผลิตภัณฑ์เป็น limit dextrin และ glucose-1-phosphate *นับเป็นความชาญฉลาดของเซลล์ที่ไม่เลือกใช้ ปฏิกิริยาแบบ hydrolysis ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์เป็น กลูโคสและต้องลงทุนอีก 1 ATP ในการเปลี่ยน เป็น glucose-1-phosphate

Glycogen phosphorylase - ปฏิกิริยาที่เร่งโดยเอนไซม์นี้เป็นขั้นควบคุมอัตราเร็วของการย่อยสลายไกลโคเจน - ต้องการ pyridoxal-5’-phosphate, PLP (vitamin B6) เป็น cofactor - ATP, glucose-6-phosphate และ glucose เป็น allosteric inhibitor - AMP เป็น allosteric activator - การทำงานของเอนไซม์ยังถูกควบคุมโดยการเกิด covalent modification (phosphorylation/dephosphorylation)

เริ่มแรกการทำงานแบบ oligo (1,4 → 1,4) GLYCOGEN DEGRADATION Limit dextrins จะถูกย่อยต่อด้วย debranching enzyme ซึ่งมี 2 การทำงาน เริ่มแรกการทำงานแบบ oligo (1,4 → 1,4) glucantransferase ตัดน้ำตาล 3 หน่วยที่ ต่อเชื่อมกันแล้วนำไปต่อเชื่อมเข้ากับปลาย นอนรีดิวซิ่งของสายพอลิเมอร์ที่อยู่ใกล้เคียง กับจุดเกิดแขนงกิ่งนั้น ทำให้เหลือกลูโคสอยู่ 1 หน่วยเกาะอยู่ที่จุดเกิดแขนงนั้น

การทำงานแบบ-(1→6)glucosidase จะทำงานต่อ ตัดกลูโคส 1 หน่วยที่คา GLYCOGEN DEGRADATION การทำงานแบบ-(1→6)glucosidase จะทำงานต่อ ตัดกลูโคส 1 หน่วยที่คา อยู่ที่จุดเกิดแขนงกิ่งออก ทำให้โมเลกุล ของไกลโคเจนมีแขนงกิ่งลดลงไปหนึ่ง แขนงกิ่ง แล้วการย่อยสายพอลิเมอร์นั้น ก็ดำเนินต่อไปด้วยเอนไซม์ glycogen phosphorylase การย่อยจะเกิดหมุน เวียนเป็นลำดับดังนี้จนกว่าโมเลกุลของ ไกลโคเจนจะถูกย่อยลงอย่างสมบูรณ์ ปริมาณ Pi สูงจะกระตุ้นการย่อยสลาย

GLYCOGEN DEGRADATION Glucose-1-phosphate ที่เกิดขึ้นจะถูกเปลี่ยนเป็น Phosphoglucomutase เพื่อเข้าสู่วิถีไกลโคไลซิสต่อไป

GLYCOGEN SYNTHESIS - ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ไม่ได้เป็นการ ย้อนทวนปฏิกิริยาการย่อยสลาย - โมเลกุลของกลูโคสต้องถูกกระตุ้นให้ อยู่ในสภาพพร้อมขนถ่ายโดยถูกสร้าง ให้อยู่ในรูป น้ำตาลนิวคลีโอไทด์ ( sugar nucleotide) ซึ่งก็คือ UDP-glucose

UDP-GLUCOSE SYNTHESIS ปฏิกิริยาดำเนินไปข้างหน้าได้ จากการเกิดปฏิกิริยา hydrolysis ของ pyrophosphate ในสัตว์ UDP-glucose เป็นตัวให้หน่วย กลูโคสสำหรับการสังเคราะห์ไกลโคเจน แต่การสังเคราะห์แป้งในพืช บทบาทนี้ กลับเป็นของ ADP-glucose Glucose-1-P + UTP + H2O→UDP-glucose + 2 Pi

เริ่มต้นการสังเคราะห์ต้องอาศัย ซึ่งสามารถเกิด autoglycosylation GLYCOGEN SYNTHESIS เริ่มต้นการสังเคราะห์ต้องอาศัย protein primer : glycogenin ซึ่งสามารถเกิด autoglycosylation รับเอากลูโคสจาก UDP-glucose มาเชื่อมต่อจนมีความยาวระดับหนึ่ง จากนั้นเอนไซม์ glycogen synthase จึงเข้ามารับช่วงการทำงานต่อสาย พอลิเมอร์ทางปลายนอนรีดิวซิ่งให้ ยาวต่อไป

เมื่อสายพอลิเมอร์ยาวขึ้นอย่างน้อย 11 หน่วย ก็จะถูกตัดออกส่วนหนึ่ง GLYCOGEN SYNTHESIS เมื่อสายพอลิเมอร์ยาวขึ้นอย่างน้อย 11 หน่วย ก็จะถูกตัดออกส่วนหนึ่ง เป็นความยาว 6-8 หน่วยกลูโคส จากปลายนอนรีดิวซิ่ง ส่วนที่ถูกตัด ออกนี้จะถูกนำไปต่อเชื่อมในสาย พอลิเมอร์เดียวกันหรือต่างสายจาก การทำงานของเอนไซม์ amylo- (1,4→1,6) –transglycosylase (branching enzyme) การเกิด แขนงกิ่งเกิดขึ้นทุกๆ 8-10 หน่วย กลูโคส

GLYCOGEN METABOLISM ถูกควบคุมด้วยฮอร์โมน muscle

การควบคุมการสังเคราะห์และการย่อยสลายไกลโคเจนในตับ