มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น อาจารย์ ดร.มัณทนาวดี เมธาพัฒนะ
Topics การเจริญเติบโตและพัฒนาการในเด็ก 2.1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ 2.2 การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การดูแลให้พ่อแม่เป็นศูนย์กลาง การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 4.1 ระยะเฉียบพลันและวิกฤต 4.2 ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Perspectives of Pediatric Nursing Philosophy of Pediatric Nursing
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856 – 1938) บุคลิกภาพของผู้ใหญ่ที่แตกต่างกันเนื่องมาจากประสบการณ์ของแต่ละคนเมื่อ เวลาอยู่ในวัยเด็ก และขึ้นอยู่กับว่าเด็กแต่ละคนแก้ปัญหาของความขัดแย้งของแต่ ละวัยอย่างไร โดย 5 ปีแรกของชีวิตจะมีความสำคัญมาก
Psychosexual Development Oral Stage (0-18 เดือน) Anal Stage (18 เดือน-3 ปี) Phallic Stage (3-5 ปี) Latency Stage (6-12 ปี) Genital Stage (12 ปีขึ้นไป)
ทฤษฎีจิตสังคม (Psychosocial Theory) อีริค อีริคสัน (Erik H. Erikson, 1902-1982) เน้นความสำคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมด้านจิตใจ (Psychological Environment) ว่ามีบทบาทในพัฒนาการบุคลิกภาพมาก และ ถือว่าพัฒนาการของคนไม่ได้จบแค่วัยรุ่น แต่ต่อไปจนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิต คือ วัยชรา และตอนที่ยังมีชีวิตอยู่
Psychosocial developmental stage Infancy period (0-2 ปี) : Trust vs Mistrust Toddler period (2-3 ปี) : Autonomy vs Shame and doubt Preschool period (3-6 ปี) : Initiative vs Guilt School period (6-12 ปี) : Industry vs Inferiority Adolescent period (12-20 ปี) : Identity vs role confusion Early adult period (20-40 ปี) : Intimacy vs Isolation Adult period (40-60 ปี) : Generativity vs Self-Absorption Aging period (60 ปีขึ้นไป) : Integrity vs Despair
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development Theory) จอห์น เพียเจต์ (Jean Piaget, 1896-1980) การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไป ตามวัยต่างๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะ เร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไป สู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้น ที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว
Cognitive Development Stage ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) แรกเกิดถึง 2 ปี ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) 2-7 ปี ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) 7-11 ปี ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) 11-15 ปี
General Concepts Growth แรกเกิดน้ำหนักเด็กปกติจะเท่ากับ 3 กิโลกรัม ในสัปดาห์แรกหลังคลอด เด็กอาจ มีน้ำหนักลดลงได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของน้ำหนักแรกเกิด และจะกลับมาเท่าแรก เกิดภายใน 2 สัปดาห์ สูตรคำนวณหาน้ำหนักจากอายุเด็กตามช่วงวัยต่างๆ (หน่วยเป็นกิโลกรัม) อายุ 3 – 12 เดือน = [อายุ (เดือน) + 9] / 2 อายุ 1 – 6 ปี = [อายุ (ปี) × 2] + 8 อายุ 7 – 12 ปี = [อายุ (ปี) × 7] – 5 / 2
การเจริญเติบโตด้านความสูง เด็กแรกเกิดจะมีความสูงประมาณ 50 เซนติเมตร ส่วนเด็กอายุ 1 ปี จะมีความสูงเพิ่มขึ้นเป็น 1.5 เท่าของความ สูงแรกเกิด สูตรคำนวณหาความสูงจากอายุ อายุ 2-12 ปี (หน่วยเป็นเซนติเมตร) = [อายุ (ปี) × 6] + 77
การเจริญเติบโตเฉพาะส่วน แรกเกิด ทารกจะมีเส้นรอบวงศีรษะประมาณ 35 เซนติเมตร เส้นรอบอก 33 เซนติเมตร กระหม่อมหน้า (Anterior Fontanel) จะปิดเมื่ออายุ 18 เดือน กระหม่อม หลัง (Posterior Fontanel) จะปิดเมื่ออายุ 6 - 8 สัปดาห์ ฟันน้ำนมซี่แรกขึ้นเมื่ออายุ 6 เดือน ฟันแท้ เริ่มขึ้นเมื่ออายุ 6 ปี ขึ้นครบ 32 ซี่ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นตอนปลาย
Growth and Development เดือน 1 เด็กเหม่อตามอง : มองหน้าช่วงสั้นๆ เดือน 2 ยิ้มย่องผ่องใส : เริ่มยิ้มได้ จำหน้าคนเลี้ยงได้ เดือน 3 หันหัวร่ำไป : มองตามได้ เดือน 4 แม่ไม่ต้องยก : หัวยกขึ้นเองได้ เดือน 5 คว่ำอกนอนเหม่อ : พลิกจากหงายเป็นคว่ำ เดือน 6 transfer มือเดียว : ย้ายของจากมือข้างหนึ่งไปข้างหนึ่ง เดือน 7 นั่งเดี่ยวเรื่องจ้อย : สามารถนั่งเองได้โดยไม่ต้องจับ เดือน 8 หนุน้อยคืบคลาน : คลานเองได้ เดือน 9 ยืนนานต้องเหนี่ยว : ต้องช่วยจับเวลายืน เดือน 10 ยืนเยี่ยวเองได้ : สามารถยืนเองได้ เดือน 11 เดินไกลต้องเกาะ : ช่วยจับเวลาเดิน เดือน 12 ย่างเหยาะอาจหาญ : เดินได้ด้วยตนเอง
Development แรกเกิด-1เดือน 2-4 เดือน
5-6 เดือน 7-9 เดือน
10-12 เดือน 16-18 เดือน
19-24 เดือน
3-4 ปี
5-6 ปี
Family-Centered Care
Child and Adolescence with Acute and Chronic Condition in the Hospital Separation Anxiety Pain Stress and Coping Critical Care Nursing Body Image Death & Dying
See VDO 1: Kidney Cancer-Beatriz’s Story When Beatriz was 13 months old, she was diagnosed with Wilms’ tumor, a rare kidney cancer that makes up about 6 percent of all childhood cancers. After Valley Children’s pediatric surgeons removed the mass, she began a comprehensive, five-month treatment plan of chemotherapy and radiation to kill any remaining cancerous tumor cells. https://youtu.be/VemC-vpK_Yw
See VDO 2: Teen cancer stories Teenagers and young adults shouldn't stop enjoying their youth just because they have cancer. In an exciting and historic partnership with Teenage Cancer Trust (TCT) and Who Cares UCLA Health is pleased to introduce the first Teen/Young Adult Cancer program in America. The vision of the UCLA Daltrey/Townshend Teen & Young Adult Cancer Program is to ensure that every young person receives the best possible care and professional support to help them meet the physical and emotional challenges of a cancer diagnosis. https://youtu.be/y1Lablc6NQg
Exercise นักศึกษาได้อะไรจากการดู VDO 1 & 2 ตามเนื้อหา Child and Adolescence with Acute and Chronic Condition in the Hospital (Separation Anxiety/ Stress and Coping/ Body Image/ Death & Dying) เลือกมา 1 เรื่อง (ให้เวลา 20 นาที)
Post-Test
Post-test 1. เด็กอายุ 8 เดือน มารับการตรวจในคลินิกเด็กดี (well baby clinic) เมื่อคลำ กระหม่อม (fontanels) ของเด็กคนนี้ควรเป็นอย่างไร ก. กระหม่อมหน้าและกระหม่อมหลังปิด ข. กระหม่อมหน้าและกระหม่อมหลังเปิด ค. กระหม่อมหน้าปิดและกระหม่อมหลังเปิด ง. กระหม่อมหน้าเปิดและกระหม่อมหลังปิด 2. เด็กอายุ 7 ปี เข้ารับการรักษาด้วยโรคหัวใจล้มเหลว อาการดีขึ้นแพทย์ยังมีคำสั่ง การรักษาให้จำกัดกิจกรรมบนเตียง พยาบาลควรส่งเสริมพัฒนาการด้วยกิจกรรม ใด ก. วาดภาพระบายสี ข. อ่านหนังสือการ์ตูนต่อสู้ ค. เล่นวีดีโอเกมส์ชิงสมบัติฟาห์โร ง. เล่นเกมส์เศรษฐีกับผู้ป่วยเด็กข้าง เตียง
Post-test 3. รับส่งเวรพบเด็กนอนเงียบอยู่บนเตียง ทั้งๆ ที่เมื่อ 3 วันก่อนร้องตลอดเวลา แสดงว่าเด็ก กำลังวิตกกังวลจากการแยกจากขั้นใด ก. Denial ข. Despair ค. Mistrust ง. Rejection 4. หากต้องการเริ่มฝึกให้เด็กอายุ 9 เดือน ให้เริ่มรู้จักการแยกจากมารดา ควรเริ่มจาก กิจกรรมการเล่นใด ก. เล่นซ่อนของ ข. เล่นซ่อนหา ค. เล่นจ๊ะเอ๋ ง. ให้เล่นกับคนแปลกหน้าบ่อย ๆ
Post-test 5. พยาบาลควรดูแลภาพลักษณ์เด็กหญิงอายุ 12 ปี ที่ถูกน้ำร้อนลวกที่ใบหน้าอย่างไร ก. เก็บกระจกส่องหน้าให้มิดชิดเพื่อไม่ต้องการให้เห็นหน้าตนเอง ข. แนะนำให้เพื่อนมาเยี่ยมบ่อยๆ เพื่อคลายความเหงาและระบายความรู้สึก ค. แนะนำให้รับประทานอาหารประเภทโปรตีนสูงเพื่อส่งเสริมการหายของแผล ง. พูดให้กำลังใจว่าไม่ควรวิตกกังวลเพราะปัจจุบันสามารถทำศัลยกรรมแก้ไขได้
Thank You