สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สมบัติของสารและการจำแนก
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
Nickle.
ชื่อ นาย ศุภสุข โตฟาเละ รหัส 00352
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
นักโภชนาการน้อย.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
เด็กหญิงรุ่งฟ้า ชูรุ่ง
ผัก.
พุทธศาสนสุภาษิต.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
อาหารหลัก 5 หมู่.
โครเมี่ยม (Cr).
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
เรื่อง การทำน้ำสกัดชีวภาพ
ธาตุและสารประกอบ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
โดย คุณครูพนิดา กระทุ่มนอก
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ธาตุและสารประกอบ.
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีในอาหาร 1.
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปฏิกิริยาเคมี ครูปฏิการ นาครอด.
การใช้ประโยชน์จากแมลง
ตารางธาตุ.
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (Life and Environment)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
Alkyne และ Cycloalkyne
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
Chemistry Introduction
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
สารละลายกรด-เบส.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบ่งเป็น 4 เรื่อง
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ความเข้มข้นของสารละลาย
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ศาสนาเชน Jainism.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ชีวโมเลกุล.
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ เป็นการนำเวเลนต์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกัน

สารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์

สมบัติของสารประกอบโคเวเลนต์ มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว แก๊ส มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ สามารถละลายน้ำและไม่ละลายน้ำ ส่วนใหญ่ไม่นำไฟฟ้า

สารประกอบโคเวเลนต์ที่พบในชีวิตประจำวัน สูตรเคมี ประโยชน์ แก๊สแอมโมเนีย NH3 แก้วิงเวียนศรีษะ , ทำปุ๋ย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ CO2 ทำน้ำแข็งแห้ง , ผสมน้ำอัดลม กรดเกลือ (กรดไฮโดรคลอริก) HCl ล้างสนิม , ผลิตผงชูรส

สารประกอบโคเวเลนต์ที่พบในชีวิตประจำวัน สูตรเคมี ประโยชน์ แก๊สโพรเพน C3H8 แก๊สหุงต้ม , ผลิตพลาสติก กลูโคส C6H12O6 ให้พลังงานกับร่างกาย เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์) C2H5OH ล้างแผล

สารประกอบที่ไม่ละลายน้ำ ชื่อสารประกอบ สูตรเคมี แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) CaCO3 แคลเซียมซัลเฟต (ยิปซัม) CaSO4 แบเรียมซัลเฟต BaSO4 ซิลเวอร์คลอไรด์ AgCl

การอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ เนื่องจากสารประกอบพวกนี้มีสูตรที่เขียนถูกต้องได้หลายแบบ เช่น CO, CO2, PCl3, PCl5 ฉะนั้นในการอ่านชื่อ จึงต้องอ่านจำนวนอะตอมด้วยภาษากรีกดังนี้ 1 = มอนอ 2 = ได 3 = ไตร 4 = เตตระ 5 = เพนตะ 6 = เฮกซะ 7 = เฮปตะ 8 = ออกตะ 9 = โนนะ 10 = เดคะ แล้วลงท้ายเสียงเป็น ไอด์ (ide)

อ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ CO คาร์บอนมอนอกไซด์ CO2 คาร์บอนไดออกไซด์ SO2 ……………………………………………………………… SO3 ……………………………………………………………… CCl4 ………………………………………………………………

สารประกอบที่มีชื่อเป็นภาษาไทย และชื่อเฉพาะ น้ำประสานทอง (บอแรกซ์) ลำดับ ชื่อภาษาไทย สารเคมี 1 เกลือแกง NaCl 2 โซดาไฟ, โซดาแผดเผา NaOH 3 โซดาซักผ้า Na2CO3 4 ผงฟู, เบกกิ้งโซดา NaHCO3 5 น้ำประสานทอง (บอแรกซ์) Na2B4O7 6 ด่างคลี KOH 7 ด่างทับทิม KMnO4 8 หินปูน CaCO3 9 น้ำปูนใส, ปูนขาว Ca(OH)2 10 ปูนดิบ CaO

สารประกอบที่มีชื่อเป็นภาษาไทย และชื่อเฉพาะ น้ำตาลทราย (น้ำตาลซูโครส) ลำดับ ชื่อภาษาไทย สารเคมี 11 ดีเกลือ MgSO4 12 กรดเกลือ HCl 13 ดินประสิว KNO3 14 กรดดินประสิว HNO3 15 กรดน้ำส้ม CH3COOH 16 กรดกำมะถัน H2SO4 17 น้ำตาลกลูโคส C6H12O6 18 น้ำ H2O 19 น้ำตาลทราย (น้ำตาลซูโครส) C12H22O11 20 แอมโมเนีย NH3

สารประกอบที่มีชื่อเป็นภาษาไทย และชื่อเฉพาะ ลำดับ ชื่อภาษาไทย สารเคมี 19 น้ำตาลทราย (น้ำตาลซูโครส) C12H22O11 20 แอมโมเนีย NH3 21 มีเทน CH4 22 เอทานอล C2H5OH 23 คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต เพนตะไฮเดรต CuSO4.5H2O 24 แมกนีเซียมคลอไรด์ไดไฮเดรต MgCl2.2H20 25 ลูกเหม็น C10H8 26 สารส้ม K2Al2(SO4)4.24H2O