การดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในการขับเคลื่อนไอโอดีนทั่วไทย วันที่ 25 มิถุนายน 2558 โดย นางสาวทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการสำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 1 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เป้าหมายของการเสวนา นโยบาย USI และผลการประเมินของ ICCIDD ปี 2556 ผลการดำเนินงานด้านไอโอดีนของ อย. แนวทางการดำเนินงานของ อย. ขั้นต่อไป เกลือสมุทร เกลือสินเธาว์ ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน 2 2 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
เป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ คือ อย. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปัญหา นโยบายระดับโลก มาตรการบังคับใช้ให้เสริมไอโอดีนในเกลือทุกประเภทที่ใช้ในการผลิตอาหารสำหรับคนและสัตว์ (Universal Salt Iodization) เด็กเป็นโรคเอ๋อ พัฒนาการ ไม่สมวัย ร่างกายแคระแกร็น ค่า UI ในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ต่ำ IQ ของเด็กไทยต่ำกว่ามาตรฐาน เกลือสำหรับมนุษย์บริโภค เกลือสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร เกลือสำหรับสัตว์บริโภค การประเมินความก้าวหน้าโครงการขจัดโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย (ICCIDD) ปี 2556 ประเทศไทยบรรลุผล 5 ข้อและอีก 5 ข้อ บรรลุเพียงบางส่วน ได้แก่ 1. การสนับสนุนทางการเมืองต่อ USI 2. มีกฎหมาย USI และกฎระเบียบ 3. ข้อมูลการตรวจสอบระบบเกลือไอโอดีนทุกระดับที่เป็นระบบ 4. ความร่วมมือจากอุตสาหกรรมเกลือในการควบคุมคุณภาพ 5. กลไกการแลกเปลี่ยนข้อมูลไอโอดีนในเกลือและคนระหว่างหน่วยงานและการรายงานผลต่อสาธารณชน √ x ผู้รับผิดชอบ คือ อย. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ตามนโยบาย ICCIDD ผู้เชี่ยวชาญ ICCIDD ได้ให้ข้อแนะนำและเป้าหมายในการดำเนินงาน ดังนี้ เป้าหมายระยะยาว การผลิตเกลือบริโภคจะต้องมีการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) ที่ดีอย่างต่อเนื่อง เป้าหมายระดับกลาง ในปี พ.ศ.2560 สถานที่ผลิตเกลือบริโภคเสริมไอโอดีนต้องมีการริเริ่มระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) มาใช้ เป้าหมายระยะสั้น (แผน 3 ปี) จัดสร้างระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) สาหรับสถานที่ผลิตขนาดใหญ่และกลางที่ชัดเจน ระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ.2556-2558) โดยต้องสอดคล้องกับคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญด้วย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ตามนโยบาย ICCIDD นโยบาย USI การเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง - เกลือบริโภค - ผลิตภัณฑ์ปรุงรส นโยบายรัฐบาล เกลือเสริมไอโอดีนถ้วนหน้าเพื่อการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนในทุกวัย มาตรการแก้ไขปัญหาระยะยาว (ออกกฎหมาย) พัฒนาผู้ประกอบการเกลือ (จัดอบรมการจัดทำระบบ QA & QC , จัดทำคู่มือและลงพื้นที่ให้คำปรึกษา) ประกาศกระทรวง สาธารณสุข เกลือบริโภค (20-40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) น้ำปลา (ฉบับที่ 2) (2-3 มิลลิกรัมต่อลิตร) น้ำเกลือปรุงอาหาร (2-3 มิลลิกรัมต่อลิตร) ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง (ฉบับที่ 2) (2-3 มิลลิกรัมต่อลิตร) การสนับสนุนเครื่องผสมเกลือไอโอดีน (พัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต) การสนับสนุนสารโพแทสเซียมไอโอเดต (สนับสนุนแก่ผปก.เกลือ น้ำปลา ซอสปรุงรส น้ำเกลือปรุงอาหาร) 5 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ตามนโยบาย ICCIDD การเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานเกลือบริโภค เป้าหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานของเกลือบริโภค ประจำปี 2558 กราฟเปรียบเทียบผลการเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานของเกลือบริโภค ตั้งแต่ ปี 2554-2557 หมายเหตุ ข้อมูลสำนักอาหาร ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2558 √ มีแนวโน้มการผลิตเกลือที่มีคุณภาพมาตรฐานมากขึ้น √ ผปก.มีการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ด้วย Modified I-kit และจดบันทึกมากขึ้น √ โรงงานขนาดใหญ่มีระบบ QA & QC ในโรงงานที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาผู้ประกอบการเกลือ (จัดอบรมการควบคุมคุณภาพมาตรฐานในการผลิต, จัดทำคู่มือและลงพื้นที่ให้คำปรึกษา) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แนวทางการดำเนินงานด้านไอโอดีนขั้นต่อไป สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา * เกลือบริโภคต้องมีคุณภาพมาตรฐานและมีไอโอดีน 20-40 ppm * ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน (น้ำปลา ซอสซีอิ๊ว น้ำเกลือ) ต้องมีคุณภาพมาตรฐานและมีไอโอดีน 2-3 ppm Output ประชาชนได้รับสารไอโอดีนอย่างเพียงพอ ประเทศไทยสามารถขจัดโรคขาดสารไอโอดีนได้อย่างยั่งยืน Goal แผนระยะยาว พ.ศ.2559 เป็นต้นไป มาตรการทางกฎหมาย 1. ทบทวนคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ที่เสริมไอโอดีน (การขาดไอโอดีน/การได้รับไอโอดีนเกิน) 2. พัฒนาระบบ QA &QC 1. ติดตามและประเมินการจัดทำระบบ QA & QC ใน ผปก.เกลือทั้งประเทศ 2. จัดอบรม ทบทวนและทวนสอบมาตรฐานการผลิตเป็นประจำทุกปี 3. พัฒนาเครื่องผสมเกลือไอโอดีนแบบต่อเนื่อง (ร่วมกับสถาบันโภชนาการ) 4. อบรมพัฒนาระบบ QA &QC ของผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน การพัฒนาผู้ประกอบการ 1. การเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานเกลือบริโภค อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 2. การเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่เสริมไอโอดีน ปีละ 1 ครั้ง 3. สนับสนุนน้ำยา I-Reagent และสอบเทียบเครื่อง I-Reader ให้ สสจ.เป็นประจำทุกปี 4. จัดการเกลือที่ไม่ได้เลขสารบบอาหารให้เข้าสู่ระบบ การเฝ้าระวัง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
คุ้มครอง ห่วงใย ใส่ ใจสุขภาพ http://www.fda.moph.go.th http://ww.iodinethailand.com