LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ร่างกายจะใช้กรดอะมิโนเป็นแหล่งให้พลังงาน เมื่อ
Advertisements

พิสิฏฐ์ ประพันธ์วัฒนะ
การสังเคราะห์ด้วยแสง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ชีวเคมีของพืช ภาคปลาย 2555
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
ชีวเคมี II Bioenergetics.
Introduction to Enzymes
Translation.
ENZYME.
Chemical Properties of Grain
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
การผลิตเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
Vilasinee Hirunpanich B. Pharm, M.Sc. In Pharm (Pharmacology)
Protein and Amino Acid Metabolism
Introduction to Metabolism
Biochemistry Quiz 2009.
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
Triacylglycerol สารประกอบที่มีองค์ประกอบในรูปนี้ มีชื่อว่าอะไร
Biosynthesis of Heme.
คำถามที่มีคนอยากรู้คำตอบ ในวิชาชีวเคมีก่อนสอบ
Citric Acid Cycle.
RNA synthesis and processing รัชนีกร กัลล์ประวิทธ์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
Water Soluble Vitamins
เคมีของชีวิต สารประกอบอินทรีย์
Posttranslational Modifications
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
Energy transformation การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
Nitrogen & Amino Acid Metabolism
5 Nov 2014 Metabolism of Amino Acids II
Carbohydrate
Basic and Metabolism of Protein Donrawee Leelarungrayub (BSc, PT), (Ph.D. Biochem) Department of Physical Therapy Faculty of Associated Medical Sciences.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
Applied Biochemistry 2 nd Semester 2015 Tue 5 Apr /25.
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
อ.ธนวัฒน์ ชัยพงศ์พัชรา วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Introductory Biochemistry (1/ 2552)
บทที่ 4 หน่วยของสิ่งมีชีวิต.
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
Photosynthesis กรวรรณ งามสม.
(Introduction to Soil Science)
Biochemistry II 1st Semester 2018
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Sex Chromosome
Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - PHOSPHOLIPID METABOLISM
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ชั่วโมงที่ 34–35 ไขมันและน้ำมัน
CARBOHYDRATE METABOLISM
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
Biochemistry II 1st Semester 2019
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS - TRIACYLGLYCEROL SYNTHESIS อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์

KETOGENESIS เกิดขึ้นเมื่อปริมาณ acetyl CoA เพิ่มสูงมากเกินกว่าที่จะ - ถูกออกซิไดซ์ - สร้างเป็นกรดไขมัน - สังเคราะห์สารประกอบ isoprenoid **ปกติ ไม่ค่อยเหลือ acetyl CoA มากๆ** ****ketogenesis เกิดขึ้นต่ำมาก**** เมื่ออดอาหาร ( ขาดคาร์โบไฮเดรต ) กระบวนการนี้จะมีความสำคัญ เป็นการสร้างแหล่งพลังงานในรูปของ ketone bodies - เกิดขึ้นที่ตับ บริเวณ matrix เนื่องจากมีระดับ HMG-CoA synthase สูง ในเนื้อเยื่อนี้

KETOGENESIS ปฏิกิริยาที่ 1 : condensation : ย้อนทวนปฏิกิริยาสุดท้ายของ -oxidation โดยการทำงานของเอนไซม์ตัวเดียวกัน : ในร่างกาย acetyl-CoA และ acetoacetyl-CoA อยู่ในสมดุลกันและกัน : ปฏิกิริยาดำเนินไปข้างหน้าเกิดเป็น acetoacetyl-CoA ต้องมีปริมาณ acetyl-CoA สูงมากๆ

KETOGENESIS ปฏิกิริยาที่ 2 : condensation : acetyl-CoA โมเลกุลที่ 3 ถูกใช้ในการสร้าง HMG-CoA โดยการทำงานของ HMG-CoA synthase ปฏิกิริยาที่ 3 : การสร้าง acetoacetate : โดยการทำงานของ HMG-CoA lyase ปฏิกิริยาที่ 4 : การสร้าง -hydroxybutyrate และ acetone จาก acetoacetate

KETOGENESIS - acetoacetate ถูกรีดิวซ์เป็น -hydroxybutyrate โดยการทำงานของ -hydroxybutyrate dehydrogenase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่อยู่ใน inner mitochondrial membrane - ในกระแสเลือด acetoacetate เกิด nonenzymatic decarboxylation เป็น acetone และ CO2

Ketone bodies ประกอบด้วย -hydroxybutyrate acetoacetate และ acetone - ค่อนข้างเป็นกรดแก่ - ทำให้ pH ของเลือดต่ำลง ส่งผลต่อการจับของhemoglobinกับO2 - ขับออกทางปัสสาวะ - คนเป็นเบาหวานอาจสูงถึง 90 mg/dl - -hydroxybutyrate และ acetoacetate ถูกขนส่งออกสู่กระแสเลือดไปสู่เนื้อเยื่ออื่นๆในร่างกาย เป็นรูปที่ใช้ขนส่งกรดไขมันได้ดี โดยที่ไม่ต้องจับกับโมเลกุลตัวพาต่างๆ และไม่ถูกควบคุมการขนส่งเข้าเซลล์โดยฮอร์โมน

การใช้ ketone bodies เป็นแหล่งพลังงานในเนื้อเยื่ออื่นๆ - เซลล์เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อหัวใจ สมอง ยกเว้นเซลล์ตับ ใช้ ketone bodies เป็นแหล่งงานได้ - ปฏิกิริยาเกิดขึ้นในไมโตคอนเดรีย - เซลล์ตับไม่สามารถใช้ได้เพราะขาด -ketoacyl-CoA transferase

FATTY ACID BIOSYNTHESIS เกิดขึ้นเมื่อ 1. อาหารที่รับประทานมีไขมันน้อย หรือ 2. อาหารมีคาร์โบไฮเดรตหรือโปรตีนสูง ซึ่งส่วนใหญ่กรดไขมันถูกสังเคราะห์จากกลูโคสที่ได้จากอาหาร เกิดมากที่ เซลล์ตับ adipocyte บริเวณ cytosol เซลล์อื่นๆอาจเกิดขึ้นได้น้อย นอกจากสภาวะจำเพาะ เช่น ระหว่างการเกิด lactation ใน mammary gland

FATTY ACID BIOSYNTHESIS การสังเคราะห์กรดไขมันเป็นชุดปฏิกิริยาที่มีแนวทางต่างจากการเกิดออกซิเดชั่นของกรดไขมันอยู่หลายๆ ประการ คือ 1. สารมัธยันตร์ที่เกิดขึ้นระหว่างการสังเคราะห์ไขมันถูกเชื่อมต่อด้วยพันธะโควาเลนท์เข้าที่หมู่ sulfhydryl ของโปรตีนที่เรียกว่า acyl carrier protein (ACP) ต่างจากสารมัธยันตร์ที่เกิดระหว่างการออกซิเดชั่นกรดไขมันซึ่งเชื่อมอยู่กับหมู่ sulfhydryl ของ coenzyme A

FATTY ACID BIOSYNTHESIS 2. การสังเคราะห์กรดไขมันเกิดขึ้นที่ cytosol ขณะที่การเกิดออกซิเดชั่นเกิดขึ้นที่ mitochondria 3. ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เอนไซม์ต่างๆที่ใช้ในการสังเคราะห์กรดไขมันรวมอยุ่ในพอลิเพปไทด์สายยาวสายเดียว ที่เรียก fatty acid synthase ขณะที่เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดออกซิเดชั่นกรดไขมันต่างอยู่แยกกัน ในพืชและแบคทีเรียนั้น เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์กรดไขมันต่างอยู่แยกกัน 4. โคเอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์กรดไขมัน คือ NADP+/NADPH ขณะที่การเกิดออกซิเดชั่นกรดไขมัน คือ NAD+/NADH 5. ...................................................................................................... 6. .....................................................................................................

FATTY ACID BIOSYNTHESIS ในสัตว์ ปฏิกิริยาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน 1. การขนส่ง mitochondrial acetyl-CoA สู่ cytosol ในรูปของ citrate 2. การสร้าง malonyl-CoA จาก acetyl-CoA โดยปฏิกิริยา carboxylation 3. การสร้างสายโซ่ของกรดไขมันโดยการทำงานของ fatty acid synthase

CITRATE TRANSPORT SYSTEM หรือ CITRATE-MALATE-PYRUVATE SHUTTLE

CITRATE-MALATE-PYRUVATE SHUTTLE

FORMATION OF MALONYL-CoA - เป็นปฏิกิริยาแรกของการสังเคราะห์กรดไขมัน และผันกลับไม่ได้ - โดยการทำงานของเอนไซม์ acetyl-CoA carboxylase (ACC) ซึ่งต้องการ biotin เป็น cofactor และ ATP - ใน E. coli ACC ประกอบด้วย 3 subunit คือ Biotin carboxyl carrier protein Biotin carboxylase 3. Transcarboxylase

EUKARYOTIC ACC ทั้งสามรวมเข้าด้วยกันอยู่ในรูปของ Biotin carboxyl carrier protein, Biotin carboxylase และ Transcarboxylase ทั้งสามรวมเข้าด้วยกันอยู่ในรูปของ single multifunctional polypeptide chain

MT = malonyl transferase AT = acetyl transferase KR = ketoacyl-ACP reductase ACP = acyl carrier protein ER = enoyl-ACP reductase KAS = ketoacyl-ACP synthase DH = hydroxyacyl-ACP dehydrase TE = thioesterase

FATTY ACID SYNTHASE ในสัตว์ : Homodimer multienzyme complex แต่ละ monomer มี 1 ACP ACP เป็นตัวพา acyl chain ไปยัง active site ต่างๆ โดยมีส่วน 4 - phosphopantetheine ซึ่งมีหมู่ -SH เป็นจุดเกาะของacyl chain ได้ กรดไขมัน 2 โมเลกุล ต่อ 1 โมเลกุลเอนไซม์

FATTY ACID BIOSYNTHESIS

1. LOADING

3. REDUCTION 4.DEHYDRATION 5.REDUCTION

CONDENSATION STEP FOR THE NEXT ROUNDS OF FATTY ACID BIOSYNTHESIS

ในพืช มีเอนไซม์ Ketoacyl-ACP synthase (KAS) 3 ชนิด C6-ACP ถึง C16-ACP KAS I : เติม 2 หน่วยคาร์บอนเข้าที่สายเอซิล จนได้ C6-ACP ถึง C16-ACP KAS II : เพิ่มความยาวสายเอซิลจาก palmitoyl-ACP เป็น stearoyl-ACP KAS III : short chain condensing enzyme

FATTY ACID BIOSYNTHESIS

OVERALL REACTION FROM ACETYL-CoA TO PALMITIC ACID 8 Acetyl-CoA + 7 ATP + 14 NADPH + 7 H+  Palmitoyl-CoA + 14 NADP+ + 7 CoASH + 7 ADP + 7 Pi

ELONGATION เกิดขึ้นได้ที่ mitochondria และ ผิวของ ER ใน mitochondria เริ่มต้นด้วยการทำงานของเอนไซม์ thiolase ตามด้วย 3 ปฏิกิริยาที่ย้อนทวน บีตาออกซิเดชั่น ความยาวสายโซ่ ยาวขึ้น 2 หน่วยคาร์บอน CoASH เป็น acyl carrier แทน ACP

DESATURATION ใน eukaryote จะไม่เกิดขึ้นจนกว่าจะได้ความยาวสายโซ่ 16-18 C เป็น aerobic pathway เกิดขึ้นที่ ER ปฏิกิริยามีการขนส่งอิเล็คตรอน โดยมี O2 เป็นตัวรับอิเล็คตรอนตัวสุดท้าย และมีน้ำเกิดขึ้น 2 โมเลกุล ดังนั้นต้องมี 4 อิเล็คตรอนที่ถูกขนส่ง โดย 2 อิเล็คตรอนมาจาก NADH และอีก 2 มาจาก fatty acyl CoA

DESATURATION เป็น non-heme iron containing enzyme Fatty acyl CoA desaturase เป็น non-heme iron containing enzyme ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มี 4 ชนิด คือ 4, 5, 6, 9, desaturase ดังนั้น การเติมพันธะคู่จึงไม่เกินตำแหน่ง 9 จึงไม่สามารถสังเคราะห์กรดไขมันที่จำเป็น เช่น linoleate, linolenate ในสัตว์ พันธะคู่พันธะแรกที่เติมให้กับ saturated acyl-CoA คือ 9 ในพืช มี desaturase ชนิด 9, 12, 15 จึงสังเคราะห์กรดไขมันที่จำเป็นได้ และสามารถใช้ complex lipid เช่น phospholipid เป็นสับสเตรทได้ *****E.coli ไม่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว******

ARACHIDONIC ACID SYNTHESIS

TRIACYLGLYCEROL SYNTHESIS KENNEDY ‘S PATHWAY ใน adipose tissue Building block : dihydroxyacetone phosphate เพราะขาด glycerol kinase ในเซลล์เนื้อเยื่ออื่นๆ : glycerol-3-phosphate เป็นส่วนใหญ่