การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ หัวข้อ 3.1 ระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ (9 เดือน ระดับ 4 : ทำแผนพัฒนาความสุขของคนทำงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) เป้าหมาย 9 - 12 ด. หน่วยงาน จำนวน (แห่ง) การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ (ระดับ 4, 5) สสจ. 1 (1) รพศ/รพท. 2 (2) รพช. 7 (3) สสอ. 9 รวม 19 (9) สถานการณ์ ค่าเฉลี่ยความสุขภาพรวมจังหวัดพะเยา ร้อยละ 64.03 (เขต1=63.17, กสธ.= 62.60, *ประเทศ= 59.3) มิติการเงิน ต่ำสุด ร้อยละ 48.61 (กสธ. 50.65) มิติครอบครัว สูงสุด ร้อยละ 71.63 (กสธ. 65.92) การดำเนินงาน ตั้ง คกก./คทง. สร้างความผาสุกของ สสจ. โดยแจ้งให้แต่ละหน่วยงานตั้ง คทง. จัดประชุม คทง. ทุกเดือน เพื่อติดตามผลการทำงาน/หารือแนวทางดำเนินงาน H. Money จนท. ยื่นกู้กับ SCB/KTB แต่ไม่มีข้อมูลเชิงปริมาณ H. Redeeming/H. Communication ปสช. ให้ จนท. ทราบ หน่วยงาน รพช. /สสอ. ตั้ง คทง. และจัดทำแผนสร้างความผาสุก แต่ยังไม่มีรายงานข้อมูลกลับที่ สสจ. จึงขอให้ติดตามและกำหนดแนวทางติดตามผล สสจ. จัดกิจกรรม : ออมวันละบาทเพื่อสวัสดิการ กิจกรรมตามประเพณีและ วันสำคัญต่าง ๆ ตามนโยบายจังหวัด รพ.พะเยา จัดกิจกรรมให้ความรู้การบริหารการเงิน จัด Clinic ทางการเงินทุกเดือน กิจกรรมเสริมรายได้เปิดตลาดไลน์ขายสินค้า และออกกำลังกาย รพ.เชียงคำ จัดกิจกรรมให้ความร้างการเงิน การกู้เงินสวัสดิการ การอบรมสุนทรียสนทนาและปฏิบัติธรรม ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศ - ขอให้จัดระบบในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน - การบันทึกผลงาน ทาง web : bps.moph.go.th/new_bps/intro.php - การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ PR ผลงาน โดยเชื่อมโยงกับการประชุมวิชาการของจังหวัด - หน่วยงาน คือ สสจ. รพศ./รพท. รพช. และ สสอ. (รพ.สต. นับรวมใน สสอ.) - หน่วยงานจัดทำแผนและกิจกรรมบางส่วน ที่เหลืออยู่ระหว่างติดตาม