เวลาและการแบ่งยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์สากล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
Advertisements

หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
บทที่ 2 สัดส่วน สัดส่วน หมายถึง ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน.
นายสุวรรณ ขันสัมฤทธิ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
Euclidean’s Geomery.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
การเดินทางทางความคิดของมนุษย์ ที่มีต่อสถาปัตยกรรมตะวันตก
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.
1 1 Olympic 1 The ancient Olympic Games began in Greece in 776 B.C.E and were held every four years until 393 C.E. It wasn’t until about 1,500 years.
CHAPTER 18 BJT-TRANSISTORS.
การติดตาม ประเมินผล สัมมนา กอ. รมน. ภาค 3 ( เมษายน 59 ) ณ โรงแรมเวียง ทอง ล. ป.
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
วิชาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
การแข่งขันทักษะวิชาชีพครั้งที่ 31
ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย เอกสารประกอบการสอน (1)
ส่วนที่ 1 ความเบื้องต้น
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
Legal Phenomena: Law & Social Change
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
การประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา รหัส 61
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ศิลปะกรีก (GREECE ART)
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาเชิงพื้นที่และระดับอุดมศึกษา
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
บทที่ 2 การวัด.
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภคการตลาดบนอินเตอร์เน็ต และการโฆษณา
ยุคโบราณ (Ancient Age)
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
เพลโต (Plato).
Kapi’olani Community College
New Era of Community Energy
การรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก และการจัดทำประมวลกฎหมาย
Algebraic Fractions – Adding & Subtracting – Tarsia Jigsaw
จรรยาบรรณวิชาชีพครู 9 ประการ
การทำงานพัฒนาสังคม : ทิศทางการทำงานในกระแสการเปลี่ยนแปลง
Decision: Multi Selection (if-else-if, switch)
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ซาตานและพรรคพวกของมัน
เรื่อง เวลา และยุคสมัยประวัติศาสตร์
สรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการการเงินการคลัง (CFO)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เวลาและการแบ่งยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์สากล หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เวลาและการแบ่งยุคสมัย ทางประวัติศาสตร์สากล จุดประสงค์การเรียนรู้ ตระหนักถึงความสำาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติได้ 1

ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นการสืบค้นอดีตของมนุษย์ เพื่อศึกษาว่า มนุษย์ในอดีต ได้คิดอะไร ได้ทำอะไร ความคิดและการกระทำดังกล่าว มีอิทธิพลต่อชีวิตของมนุษย์ ทั้งในสมัยนั้น และสมัยต่อมาอย่างไร

การนับและการเทียบศักราชในประวัติศาสตร์สากล ต้องเข้าใจว่า จะศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ มนุษย์ในช่วงเวลาใด มนุษย์ ณ ที่ใด ในส่วนที่เกี่ยวกับเวลา วิธีการนับศักราชของแต่ละภูมิภาคของโลก หรือบางประเทศมีความแตกต่างกัน เราจึงต้องเข้าใจความแตกต่าง ของการนับศักราชดังกล่าว เพื่อที่จะสามารถวิเคราะห์กรือมองภาพ อดีต ในบริบทที่ถูกต้อง

การนับและการเทียบศักราชของโลกตะวันตก คริสต์ศักราช เริ่มนับในปีที่พระเยซูถือกำเนิดเป็นปีที่ ๑ หรือ A.D ๑ หรือ ค.ศ.๑ Christian Era และ Anno Domini (ปีแห่งพระเจ้า) สำหรับปีก่อนที่พระเยซูถือกำเนิด Befor Chrit ตัวย่อ B.C ไดโอนิซิอุส เอซิกุอุส บาทหลวงชาวโรมัน เป็นผู้เริ่มวิธีการนับ ค.ศ. คนแรก มีชีวิตในคริสต์ศตวรรษที่ ๖ โดยนับว่าพระเยซูถือกำเนิดในวันที่ ๒๕ ธันวาคม ปี ๗๕๓ หลังการสถาปนากรุงโรม แต่เพราะธรรมเนียม การเริ่มต้นปีใหม่ในวันที่ ๑ มกราคม จึงถือเอาวันที่ ๑ มกราคม ๗๕๔ หลังสถาปนากรุงโรงเป็นการเริ่มต้นปีที่ ๑ ชองคริสต์ศักราช

หรือศักราชร่วมหรือสากลศักราช เมื่อยุคจักรวรรดินิยมสิ้นสุดลง นักวิชการจึงเสนอให้ใช้ศักราชแบบใหม่ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับศาสนา เพื่อให้ผู้นับถือศาสนาแตกต่าง อารยธรรมแตกต่างกันสามารถใช้ร่วมกันได้เป็นสากล ศักราชแบบใหม่ นี้เรียกว่า Common Era (C.E) หรือศักราชร่วมหรือสากลศักราช สำหรับการเทียบคริสต์ศักราชเป็นพุทธศักราช (พ.ศ.) ให้บวกด้วย ๕๔๓

ปฏิทินของโลกตะวันออก ปฏิทินเกรกอเรียน (Gregorian Calendar) เริ่มใช้ครั้งแรกโดยการประกาศของสันตปาปาเกรกอรี ที่ ๑๓ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๕๘๒ ปฏิทินเกรกอเรียน ถูกคิดขึ้นมาใช้แทนปฏิทินจูเลียน ซึ่งตั้งตามนามของจูเลียส ซีซ่าร์

การนับและเทียบศักราชของโลกตะวันออก ทวีปเอเชีย เป็นคำที่ชาวยุโรปใช้เรียกประเทศ หรือดินแดนต่างๆ ที่อยู่ทางทิศ ตะวันออกของตน ตะวันออก (Orient) โลกตะวันออกเป็นดินแดนที่ผู้คนอาศัย มาเป็นเวลานาน และได้สร้างอารยธรรม เฉพาะของตนที่สำคัญของโลก โดยเฉพาะ จีนและอินเดีย ที่มาภาพ : http://play.kapook.com/photo/show-111165

การนับและการเทียบศักราชของโลกตะวันออก การนับศักราชแบบจีน จีนมีระบบปฏิทินย้อนหลังเกือบ ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว เป็นระบบจันทรคติ หรือยึดพระจันทร์เป็นหลัก การนับช่วงสมัยของจีนยึดตามปีที่ครองราชย์สมบัติของจักรพรรดิ ปัจจุบันการนับช่วงเวลาดังกล่าวจีนเลิกใช้แล้ว การนับศักราชแบบอินเดีย เป็นการนับโดยอาศัยการขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นสำคัญ ในสมัยพระเจ้ากนิษกะ ถือเป็นการเริ่มต้นศักราช กนิษกะ หรือศก ต่อมาเรียกว่า มหาศักราช ซึ่งเป็น ที่ยอมรับและ ใช้กันอย่างแพร่หลาย ปัจจุบันอินเดียใช้คริสต์ศักราชตามแบบสากล การนับศักราชแบบศาสนาอิสลาม เรียกว่า ฮิจเราะห์ศักราช เริ่มนับเมื่อท่านนบีมุฮัมหมัดกระทำฮิจเราะห์จากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ ใช้ระบบจันทรคติเป็นเกณฑ์

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันตก สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหินเก่า ยุคหินใหม่ ยุคโลหะ

ยุคหินเก่า ชื่อยุคมาจากการค้นพบเครื่องมือที่มนุษย์ยุคนั้นใช้ มักทำด้วยหินธรรมชาติ มนุษย์ยุคหินเก่าเป็นพวกเร่ร่อน อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม พัฒนาการที่สำคัญ คือ การใช้สติปัญญา มีการสร้างสรรค์งานศิลปะ โดยการวาดภาพบนฝาผนัง รู้จักใช้ไฟ จิตรกรรมฝาผนังที่ถ้ำลาสโกซ์ ประเทศฝรั่งเศษ รูปวัว กวาง ม้า

เมืองชาทัลฮูยุค ในประเทศตุรกี แหล่งชุมชนยุคหินใหม่ขนาดใหญ่ ชื่อของยุคได้มาจากการค้นพบเครื่องมือที่มีการทำให้มีความเหมาะสมในการดำรงชีวิตมากขึ้น มนุษย์เข้าสู่สังคมเกษตรกรรม ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่เป็นชุมชนจนเป็นเมือง และมีการจัดระเบียบการปกครอง เมืองชาทัลฮูยุค ในประเทศตุรกี แหล่งชุมชนยุคหินใหม่ขนาดใหญ่

ภาพวาดมนุษย์ในยุคโลหะ ที่รู้จักนำสำริดมาหลอมใช้ทำเครื่องมือ มนุษย์รู้จักนำโลหะมาทำเครื่องมือเครื่องใช้ มนุษย์เข้าสู่ความเจริญขั้นอารยธรรม มีชุมชนใหญ่ระดับเมือง มีการจัดระเบียบการปกครอง ภาพวาดมนุษย์ในยุคโลหะ ที่รู้จักนำสำริดมาหลอมใช้ทำเครื่องมือ

สมัยประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน

ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มจากการประดิษฐ์ตัวอักษรของชาวซูเมเรีย ถึงการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก เป็นการสร้างสมอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่ของโลกตะวันตก อารยธรรม อารยธรรม เมโสโปเตเมีย อารยธรรม อียิปต์ อารยธรรม กรีก อารยธรรม โรมัน

ประวัติศาสตร์สมัยกลาง นับจากการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตก ถึงการค้นพบทวีปอเมริกาของคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ประวัติศาสตร์สมัยกลางตอนต้นมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ยุคมืด ยุคมืด อารยธรรมกรีก-โรมัน เสื่อมลง ช่วงเวลานี้ยุโรปตะวันตกไม่มีจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ปกครองเป็นเวลานาน ถูกพวกอนารยชนเยอรมันหรือกอท รวมทั้งพวกไวกิ้ง รุกราน ในช่วงเวลาเดียวกัน พวกมุสลิมและพวกแมกยาร์ จากเอเชียกลางเข้ารุกรานยุโรปตะวันตกเพื่อหาทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ โดยพวกมุสลิมตั้งถิ่นฐานในคาบสมุทรไอบีเรีย ส่วนแมกยาร์ตั้งถิ่นฐานในดินแดนฮังการี

๑ ๒ ๓ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เกิดก่อนโคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา นักเดินเรือของสเปนและโปรตุเกส ออกสำรวจเส้นทางไปหมู่เกาะอินเดียตะวันออก และกลายเป็นประเทศที่มั่งคั่ง ทำให้หลายชาติตั้งบริษัทเดินเรือเพื่อทำการค้า ทำให้เกิดการปฏิวัติการค้าตามมา สมัยการสำรวจทางทะเล ๒ เกิดการแสวงหาความรู้ใหม่โดยการทดลอง การสังเกต การใช้เหตุผล ทำให้เกิดสมัยแห่งการใช้เหตุผล หรือยุคแห่งการรู้แจ้ง สมัยการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ๓ เป็นการนำเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงานมนุษย์ ทำให้ผลิตได้เป็นจำนวนมาก และเป็นมาตรฐานเดียวกันทำให้โลกตะวันตกมีความมั่งคั่ง มีอำนาจนำไปสู่การเกิดสมัยจักรวรรดินิยม สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรม

๔ เป็นยุคของการใช้เหตุผล ทำให้เกิดความคิดทางการเมืองใหม่ๆ จนนำไปสู่การปฏิวัติฝรั่งเศส และเกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย ความคิดเรื่องชาตินิยมนำไปสู่การรวมประเทศ สมัยเสรีนิยม ชาตินิยม และประชาธิปไตย ๕ เป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ยุโรปและอเมริกาต่างแสวงหาอาณานิคม โดยแข่งขันกันเพื่อความยิ่งใหญ่ของชาติ สมัยจักรวรรดินิยมใหม่ ๖ เป็นช่วงเวลาที่โลกอยู่ในภาวะสงครามครั้งใหญ่ รุนแรง และนองเลือดที่สุด การสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ถือเป็นการสิ้นสุดประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ สมัยสงครามโลก

ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน ๑. สมัยสงครามเย็น เป็นการแข่งขันทางการเมืองของค่ายประชาธิปไตยที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำกับค่ายคอมมิวนิสต์ที่มีสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำ ในขณะที่องค์การสหประชาชาติได้พยายามไกล่เกลี่ยให้เกิดสันติภาพ ๒. สมัยโลกาภิวัตน์ โลกดูเหมือนจะแคบลงเพราะความเจริญทางด้านสื่อสารคมนาคม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในทุกส่วนของโลกสามารถรับรู้กันได้อย่างรวดเร็ว การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตในโลกสมัยโลกาภิวัตน์ ช่วยให้มนุษย์รับรู้ข่าวสารทั่วโลกภายในเวลาอันรวดเร็ว

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ตะวันออก จีน การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จีนตามแบบสากล ๑ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จีนเป็นดินแดนที่มีมนุษย์อาศัยอยู่นานที่สุดในทวีปเอเชีย ในยุคนี้มนุษย์ใช้ชีวิตแบบเร่ร่อน เก็บของป่าและล่าสัตว์ ใช้ขวานกำปั้นแบบกระเทาะหน้าเดียว ยุคหินเก่า มนุษย์อาจใช้ชีวิตกึ่งเร่ร่อนกึ่งตั้งหลักแหล่งถาวร เพราะพบเครื่องถ้วยชาม หม้อ สำหรับทำอาหารในถ้ำ มีการล่าสัตว์ เก็บหาอาหาร เครื่องมือหินที่ใช้ คือ หินสับ ขูด หัวธนู ยุคหินกลาง มนุษย์เริ่มตั้งหลักแหล่งเป็นชุมชน รู้จักเพาะปลูกข้าวฟ่าง เลี้ยงสัตว์ รู้จักทอผ้า รู้จักปลูกบ้านที่มีหลังคา ผนัง และมีเตาไฟในบ้าน ยุคหินใหม่ หลักฐานที่เก่าที่สุด คือ มีดทองแดง พบที่มณฑลกานซู ในบริเวณเดียวกันยังได้พบสำริดที่เก่าที่สุด ส่วนเหล็กจะรู้จักใช้หลังจากนี้ สำหรับสำริดได้ถูกนำมาใช้ทำภาชนะต่างๆ ยุคโลหะ

๒ สมัยประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาของการสร้างอารยธรรมจีนในบริเวณลุ่มแม่น้ำหวางเหอ และความเจริญรุ่งเรืองทางด้านปรัชญา ของจีน เช่น ลัทธิขงจื๊อ(Confucianism) ลัทธิเต๋า (Taoism) เป็นต้น ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ หรือสมัยคลาสสิก เป็นช่วงที่จีนรวมกันเป็นจักรวรรดิ มีจักรพรรดิปกครององค์แรก คือฉินสื่อหวงตี้ (จิ๋นซีฮ่องเต้) เรื่อยมาจนสิ้นสุดในสมัยราชวงศ์ชิงมีจักรพรรดิองค์สุดท้าย คือ ผู่อี๋ (Puyi) ในสมัยจักรวรรดินี้ได้มีราชวงศ์ต่างๆ ทั้งของชาวจีนและ ชนต่างชาติผลัดเปลี่ยนกันขึ้นมาปกครองจีน ประวัติศาสตร์สมัย จักรวรรดิ เมื่ออำนาจจีนตกต่ำลง เพราะปัญหาภายในและการคุกคามจากชาติตะวันตก ทำห้จีนพ่ายแพ้ ต่ออังกฤษในสงครามฝิ่นจนนำไปสู่การปฏิวัติโค่นล้มราชวงศ์ชิงใน ค.ศ. ๑๙๑๑ และเริ่มการปกครองระบอบสาธารณรัฐใน ค.ศ. ๑๙๑๒ แต่เนื่องจากจีนยังคงอ่อนแอจึงทำให้พรรคคอมมิวนิสต์จีนขึ้นมามีอำนาจทางการเมือง และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย เริ่มตั้งแต่จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ใน ค.ศ. ๑๙๔๙ เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

๑ ๒ ๓ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จีนตามแบบลัทธิมากซ์ สมัยโบราณ ตั้งแต่มนุษย์หยวนโหม่วถึงศตวรรษที่ ๑๗ ก่อนคริสต์ศักราช มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ เป็นสังคมยุคแรกเริ่ม ๒ สังคมทาส ตั้งแต่ราชวงศ์ชางถึงราชวงศ์โจว เป็นสมัยที่มีทาสในสังคมจีน ๓ สังคมศักดินา ตั้งแต่ราชวงศ์ฉินจนถึงปลายราชวงศ์ชิง จีนมีการปกครองระบอบจักรพรรดิ มีชนชั้นในสังคม แบบศักดินา

๑ อินเดีย การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จีนตามแบบสากล สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหินเก่า พบเครื่องมือหิน เช่น ขวานกำปั้น หินสับตัด ในหลายบริเวณ เช่น ทมิฬนาดู(Tamilnadu) ทางใต้ ของอินเดีย ผู้คนในยุคหินเก่าดำรงชีพด้วยการเก็บหาของป่า ล่าสัตว์ อาศัยอยู่ในถ้ำ ยุคหินกลาง มนุษย์ในยุคนี้ใช้เครื่องมือหินที่เล็กลง มีน้ำหนักเบาและคมกว่า เครื่องมือหินพบในหลายบริเวณ เช่น ในแคว้นมัธยประเทศ (Madhya Pradesh) ผู้คนในยุคนี้ยังดำรงชีพด้วยการเก็บของป่า ล่าสัตว์ รู้จักเขียนภาพบนผนังถ้ำ และอาจรู้จักการเพาะปลูก ยุคหินใหม่ เครื่องมือหินยุคนี้มีขนาดเล็กลง และขัดจนเป็นใบมีดขนาดเล็ก มนุษย์ยุคนี้ทำเครื่องปั้นดินเผา รู้จักปลูกข้าว อยู่รวมกันเป็นชุมชน สร้างบ้านด้วยดินเหนียว ยุคโลหะ รู้จักใช้ทองแดงและสำริดก่อนและรู้จักใช้เหล็กทีหลังเมื่อราว ๓,๒๐๐ ปีล่วงมาแล้ว เป็นยุคแห่งความรุ่งเรืองของอินเดียโบราณ ที่เรียกว่าอารยธรรมลุ่มแม่นํ้าสินธุ

๒ สมัยประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มเมื่อมีการประดิษฐ์ตัวอักษร ประมาณศตวรรษที่ ๘ หรือศตวรรษที่ ๗ ก่อนคริสต์ศักราช ตัวอักษรอินเดียโบราณ เรียกว่า พราห์มิ ลิปิ (Brahmi Lipi) ประวัติศาสตร์สมัยจักรวรรดิ อินเดียเกิดความแตกแยกภายใน และในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๘ ได้ถูกมุสลิมรุกรานจากทางเหนือ และเข้ายึดครองสืบต่อหลายจักรวรรดิแต่ไม่ค่อยมีความยิ่งใหญ่และอยู่ได้ไม่นานนัก ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มเมื่อราชวงศ์โมกุลหรือมุคัลขึ้นมามีอำนาจในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ จนถึงการที่อังกฤษให้เอกราชแก่อินเดีย ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย อินเดียได้ถูกแบ่งแยกออกเป็น ๒ ประเทศ คืออินเดีย และปากีสถาน พื้นที่ประเทศปากีสถานด้านตะวันออกก็ได้แยกตัวเป็นเอกราชอีกประเทศหนึ่ง คือ บังกลาเทศ

ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานทางประวัติศาสตร์สากล ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยของโลกตะวันตก พระเจ้าฮัมมูราบี (Hammurabi, ๑,๗๗๒ - ๑,๗๔๕ ปีก่อนคริสต์ศักราช) แห่งจักรวรรดิบาบิโลเนีย (Babylonia) ได้จัดทำประมวลกฎหมายขึ้น มีด้วยกันประมาณ ๓๐๐ มาตรา อันเป็นการรวบรวมและปรับปรุงกฎหมายของชนเผ่าต่างๆ ที่ตั้งถิ่นฐานมาก่อนหน้าในเขตเมโสโปเตเมียข้อความบางตอนที่ปรากฏในประมวลกฎหมาย ประมวลกฎหมายนี้จัดทำขึ้นในสมัยของอารยธรรมโบราณ และในช่วงเวลาก่อนคริสต์ศักราชเป็นเวลานาน ทำให้เราทราบว่าในอดีตที่ห่างไกลนั้น ได้มีความพยายามที่จะจัดระเบียบสังคมที่แบ่งเป็นชนชั้น และมีการคำนึงถึงสิทธิของสตรีและบุตรด้วย จากเนื้อความของกฎหมายได้สะท้อนภาพชีวิตบางส่วนของผู้คนในยุคนั้น

ตัวอย่างเวลาและยุคสมัยของโลกตะวันออก จีน เป็นชาติที่มีการจดบันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไว้มาก ตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้วที่ราชวงศ์ที่ขึ้นมามีอำนาจใหม่ จะมีการชำระประวัติศาสตร์ราชวงศ์ที่เพิ่งสิ้นสุดอำนาจลง ปัจจุบันประวัติศาสตร์ทุกราชวงศ์รวม ๒๕ ราชวงศ์ ราชวงศ์ชิงซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายก็ได้มีการชำระและพิมพ์เผยแพร่แล้ว ตัวอย่างการจดบันทึกการใช้เวลาและยุคสมัยของประวัติศาสตร์จีนจากจดหมายเหตุราชวงศ์ชิงเกี่ยวกับไทย “วันซินโฉ่ว เดือนเก้า ปีที่สี่สิบห้า รัชศกเฉียนหลง มีพระราชโองการ...ความว่า... เนื่องด้วย เจิ้งเจา เจ้าเมืองเซียนหลัว ได้เตรียมเครื่องราชบรรณาการเอกจำนวนหนึ่งพร้อมหนังสือแจ้ง โดยขอให้ช่วยกราบบังคมทูลให้ทรงทราบ...” (ที่มา : ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๑๓ กำลังพิมพ์)

อินเดีย เป็นนชาติที่ไม่นิยมบันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การบันทึกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของอินเดียมีลักษณะสำคัญคล้ายจีน คือ นิยมนับปีครองราชย์ว่าเป็น ปีที่เท่าใด ตัวอย่างที่จะกล่าวถึงดังต่อไปนี้เป็นจารึกอโศก ฉบับที่ ๗ หรือจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราช (ครองราชย์ราว ๒๗๓ - ๒๓๒ ปีก่อนคริสต์ศักราช) “ข้าฯ ได้เกิดมีความคิดขึ้นว่า ข้าฯ จักจัดให้มีการประกาศธรรม ข้าฯ จักจัดให้การอบรม สั่งสอนธรรมประชาชนทั้งหลาย ครั้นได้สดับธรรมนี้แล้ว ก็จักพากันประพฤติปฏิบัติตาม จักยกระดับตนเองสูงขึ้น และจักมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ด้วยความเจริญทางธรรมอย่างมั่นคง... ...ธรรมโองการนี้ ข้าฯ ได้ให้จารึกไว้เมื่ออภิเษกแล้วได้ ๒๗ พรรษา” (ที่มา : จารึกอโศก พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) แปล. ๒๕๔๒. หน้า ๗๖ และ ๘๒)