อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
Advertisements

 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
โปรโตคอล Protocol คือข้อกำหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล.
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายชื่อกลุ่ม 1.นางสาว ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค (พลอย) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์ 2.นางสาว พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ (มุก) ปวส. 2/6 รหัส สาขาโลจิสติกส์
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Chapter 2 สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture)
แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
Introduction to VB2010 EXPRESS
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
Basic Input Output System
ระบบรักษาความปลอดภัย
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบบริหารข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ITAM)
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 2 แบบจำลองเครือข่าย
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ขดลวดพยุงสายยาง.
Open system Protocol concept TCP/IP TCP/IP Sub Protocol
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

ชั้นสื่อสารในแบบจำลอง OSI (Layers in The OSI Model ) ชั้นสื่อสารฟิสิคัล (Physical Layer) ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ (Data Link Layer) ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ค (Network Layer) ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) ชั้นสื่อสารเซสชั่น (Session Layer) ชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่น (Presentation Layer) ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer)

ชั้นสื่อสารฟิสิคัล (Physical Layer) ทำหน้าที่ประสานงานในการส่งกระแสบิต (Bit Stream) บนสื่อกลางที่เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดทาง กลไกและทางไฟฟ้า ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารฟิสิคัลคือการเคลื่อนย้าย ข้อมูลระดับบิต จากโหนดหนึ่ง (Node or Hop) ไปยังโหนดถัดไป (Hop-to-Hop or Node-to-Node) ชั้นสื่อสารฟิสิคัลจะทำงานเกี่ยวข้องกับสื่อส่งข้อมูล (Transmission Medium)

ชั้นสื่อสารฟิสิคัล

ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ (Data Link Layer) หน่วยของข้อมูลในชั้นนี้จะจัดเก็บในรูปแบบของ เฟรม (Frame) ภาระหน้าที่คือการเคลื่อนย้ายเฟรมจากโหนด หนึ่ง (Node or Hop) ไปยังโหนดถัดไป (Hop-to- Hop หรือ Node-to-Node ) ใช้ MAC Address ในการระบุตำแหน่งของ โหนด มีกระบวนการตรวจจับและแก้ไขข้อผิดพลาดของ เฟรมเพื่อความน่าเชื่อถือของการสื่อสารข้อมูล

ชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ - มีการใส่ Header (H) เพื่อระบุตำแหน่งของผู้ส่ง (Source) และผู้รับ (Destination) โดยใช้ MAC Address - ใส่ Trailer (T) เพื่อให้ฝั่งรับข้อมูลนำไปใช้ในการควบคุมข้อผิดพลาด

การส่งข้อมูลแบบ Hop-to-Hop

ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ค (Network Layer) ส่งแพ็คเก็ต (Packet) จากต้นทางไปยังปลาย ทางผ่านเครือข่ายหลายๆเครือข่ายที่มีลิงก์เชื่อมต่อ มากมาย โดยการหาเส้นทางที่เหมาะสมที่สุด แตกต่างกับชั้นสื่อสารดาต้าลิงก์ที่จัดส่งไปยังโหนด ปลายทางภายในลิงก์เดียวกันเท่านั้น เช่น เครือข่าย LAN ข้อมูลแพ็คเก็ตจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ เพื่อส่งไป ยังปลายทาง หากเครือข่ายสองระบบเป็นเครือข่ายต่างชนิดกัน จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ที่ทำงานภายใต้ชั้นสื่อสาร เน็ตเวิร์ค ซึ่งปกติเป็นเราเตอร์ (Router)

ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ค - ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์คจะใช้ Logical Address หรือที่รู้จักกันดีก็คือ IP Address ในการระบุตำแหน่งอุปกรณ์ - มีการเลือกเส้นทาง (Routing) ในการส่งข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด เพื่อให้ข้อมูลไปถึงปลายทางได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้อุปกรณ์ Router

การส่งข้อมูลแบบ Source-to-Destination

ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต (Transport Layer) ทำหน้าที่ส่งมอบข้อมูลที่เรียกว่าเซกเมนต์ (Segment) ในลักษณะ Process-to- Process โปรเซส (Process) คือโปรแกรมประยุกต์ใด ๆ ที่ รันอยู่บนเครื่องโฮสต์ หากมีหลายโปรแกรม รันอยู่แสดงว่ามีหลายโปรเซสรันอยู่ในขณะนั้น ซึ่ง จะใช้ Port ID ในการแบ่งแยกแต่ละ Process ภาระหน้าที่ของชั้นสื่อสารทรานสปอร์ตคือการส่งมอบ ข่าวสารจากโปรเซส ต้นทางไปยังโปรเซส ปลายทาง

ตัวอย่าง Process บน Windows

ชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต

การส่งข่าวสารในรูปแบบ Process-to-Process เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูล จะถูกส่งไปยังโปรเซสที่ถูกต้อง แต่ละโหนดอาจมีโปรเซสมากกว่าหนึ่งโปรเซสที่ทำงานพร้อมกัน ดังนั้นจึงต้องมีหมายเลขพอร์ต (Port) ต่างๆ ไว้คอยบริการให้กับโปรเซสแต่ละประเภท

ชั้นสื่อสารเซสชั่น (Session Layer) มีหน้าที่คือควบคุมการสื่อสารและการซิงโครไนซ์ การสื่อสารที่กำลังดำเนินการอยู่ ณ ขณะใด ขณะหนึ่งจะเรียกว่า “เซสชั่น” เช่น เซสชั่นของการสนทนาที่ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ การเริ่มสนทนา การสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล การจบการสนทนา หลังจากที่สร้างเซสชั่นเรียบร้อยแล้ว การรับส่งข้อมูลจะเป็นหน้าที่ของชั้นสื่อสารทรานสปอร์ต

ตัวอย่าง Session Timeout Warning

การซิงโครไนซ์ (Synchronize) เป็นการเพิ่มจุดตรวจสอบเพื่อให้สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ง่ายขึ้น เช่น สมมุติว่ามีการส่งไฟล์จำนวน 2,000 Bytes และมีการแทรกจุดตรวจสอบไปทุกๆ 100 Bytes หากระบบส่งข้อมูลล้มเหลวในการส่งไฟล์ในไบต์ที่523 การกู้คืนจะเปิดเซสชั่นใหม่เพื่อส่งข้อมูลที่ผิดพลาดเท่านั้น ซึ่งก็คือไบต์ที่ 501-600

ชั้นสื่อสารพรีเซนเตชั่น (Presentation Layer) มีหน้าที่คือ การแปลงข้อมูล การเข้ารหัสข้อมูล และการบีบอัด ข้อมูล แปลงข้อมูล (Encoding) ให้มีรูปแบบและความหมาย เดียวกัน เช่น ASCII, UNICODE การเข้ารหัส (Encryption) คือการเข้ารหัสเพื่อความ ปลอดภัยก่อนที่จะส่งไปยังเครือข่าย เมื่อข้อมูลถึง ปลายทางก็จะมีการถอดรหัส (Decryption) กลับมาเป็น ข้อมูลเดิม การบีบอัดข้อมูล (Compression) เพื่อให้ข้อมูลมีขนาด เล็กลง ส่งผลดีต่อความรวดเร็วในการสื่อสาร และลด แบนด์วิดธ์ในการสื่อสารลง

ชั้นสื่อสารพรีเซ็นเตชั่น

Encode - Decode To App

ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น (Application Layer) เป็นชั้นสื่อสารที่เน้นการติดต่อกับผู้ใช้ และอนุญาต ให้ผู้ใช้ซึ่งอาจเป็นบุคคลหรือซอฟต์แวร์สามารถ เข้าถึงเครือข่ายได้ ชั้นแอพพลิเคชั่นมี User Interface เพื่อสนับสนุน งานบริการต่างๆให้กับผู้ใช้ ทั้งการ รับข้อมูลจากผู้ใช้และการแสดงผล

ชั้นสื่อสารแอปพลิเคชั่น

สรุปการทำงานของแบบจำลอง OSI ทั้ง 7 ชั้นสื่อสาร