หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในทางเศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เนื่องจากกลไกตลาดไม่สามารถทำงานได้ การมีลักษณะเป็นสินค้าสาธารณะ (public goods) การเกิดผลกระทบภายนอกหรือผลกระทบข้างเคียง (externality) การมีลักษณะเป็นทรัพย์สินร่วม (common property)
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน จัดแบ่งตามการเสริมสร้างสภาพของทรัพยากรต้นทุนและการทำงานของกลไกตลาด Exhaustible marketed resource แร่ธาตุ Renewable marketed resource ปลาทะเล Renewable non-marketed resource ทิวทัศน์ Potentially non-renewable resource น้ำใต้ดิน
ใช้แล้วหมดสภาพไป ต้องพิจารณาว่าจะนำทรัพยากรมาใช้ในแต่ละช่วงเวลาอย่างไร
ใช้แล้วเกิดขึ้นใหม่ได้ นำทรัพยากรขึ้นมาใช้ในแต่ละช่วงเวลาอย่างไร คำนึงถึงการมีใช้ในอนาคตด้วย
เกิดใหม่ได้ แต่ไม่มีราคาปรากฏ ต้องหามูลค่าเพิ่ม ทั้งทางตรงทางอ้อม การนำมาใช้โดยมีการจัดการไม่ดี จะเพิ่มต้นทุนภายนอกกับสังคม
สิ่งแวดล้อมกับระบบเศรษฐกิจ เป็นสินค้าเพื่อบริโภค เช่น อากาศไว้หายใจ น้ำเพื่อดื่ม เป็นแหล่งจัดหาทรัพยากร เช่น ที่ดิน น้ำ เป็นที่รองรับของเสีย เช่น แหล่งน้ำ ดินไว้ฝังกลบขยะ เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน
วีดิทัศน์ 10 ดูให้รู้ โตเกียว ทำนาในตึก การเพาะปลูกพืชในอาคาร หลักเศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีที่นำมาใช้ ความสะดวก ปลอดภัย youtube.com/watch?v=3rCzEGh0Uxk
นโยบายของรัฐด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) กำหนดนโยบายของรัฐด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไว้ในส่วนที่ 3 (ยุทธศาสตร์การพัฒนา) บทที่ 8
บทที่ 8 ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง พื้นที่ป่าไม้ยังคงถูกบุกรุกทำลาย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรม ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม ขัดแย้งการใช้ที่ดิน ปัญหาการขาดแคลนน้ำ อุทกภัย ความต้องการใช้แร่และพลังงานเพิ่มขึ้น
มลพิษทางอากาศ น้ำและขยะมูลฝอย การใช้สารเคมีภาคเกษตร อุตสาหกรรม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
2. การประเมินความเสี่ยง การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทำให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมากขึ้น สูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง ไม่มั่นคงด้านอาหารและพลังงาน ภัยพิบัติธรรมชาติ การผลิตและการบริโภคที่ฟุ่มเฟือย ขาดจิตสำนึกสาธารณะ เทคโนโลยีการผลิตที่ประสิทธิภาพต่ำ การปลูกพืชเชิงเดี่ยว
ความขัดแย้งเชิงนโยบายของการบริหารจัดการภาครัฐ ขาดองค์ความรู้และฐานข้อมูลที่ทันสมัย
วัตถุประสงค์ - เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - เพื่อขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นสังคมคาร์บอนต่ำ - เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมรับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ - เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
เป้าหมาย - รักษาพื้นที่อนุรักษ์ไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 19.0 เพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ร้อยละ 40.0 และเพิ่มพื้นที่ป่าชายเลนไม่น้อยกว่าปีละ 5,000 ไร่ - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ เพิ่มพื้นที่ชลประทานปีละ 200,000 ไร่ - ฟื้นฟูคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง โดยเฉพาะอ่าวไทยตอนใน - การจัดการขยะชุมชนถูกหลักสุขาภิบาล - เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างเกื้อกูลกัน
ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ดูได้ที่ http://www.nesdb.go.th/article_attach/article_file_20160922162840.pdf สอนเฉพาะหน้า 4, 8, 29 และ 104 ของ PDF
วีดิทัศน์ 11 รายการศึกษาทัศน์ ตามเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรกิจการฝนหลวงyoutu.be/ffAntvZXb3g