กรอบแนวคิด “คุณภาพชีวิต” Conceptual Framework for “Quality of Life”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
Advertisements

การตลาดผ่านสื่อทางสังคม (Social Media Marketing)
True Innovation Awards 2015 for True Presented by: Date:
ความเป็นมาของโครงการ ปัญหานักศึกษาใช้ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์แล้วไม่ช่วยกันรักษาห้องและ อุปกรณ์ ถือเป็นเรื่องสำคัญของทางภาควิชาที่ ต้องเริ่งดำเนินการ.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Kunming University of Science and Technology, China
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
Report การแข่งขัน.
PITH ANALYSIS THAILAND PLASTICS ANALYSIS REPORT
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Information Systems Development
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
ทักษะที่จำเป็นสำหรับ การสร้างงานที่มีประสิทธิผล
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
Healthy Aging สุขภาพดีที่ยั่งยืน
กอบกู้วิกฤตการศึกษาไทย ความหวังการสร้างชาติที่ยั่งยืน
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
การใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) ในงานสร้างสุขภาพ
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
มองชุมชนไทยผ่านกรอบ Amartya Sen
การบริหารและประเมินโครงการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
Professor Sudaduang Krisdapong Department of Community Dentistry,
(Economic Development)
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษามโนรมย์ 8 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง มาตรการที่ 1 มาตรการส่งเสริมความรู้และสนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน.
การเลี้ยงไก่ไข่.
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
Review of the Literature)
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
“แนวทางการเขียนหนังสือ – ตำรา”
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
สิงหาคม 2558.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
เปาโลเดินทางไปยังกรุงโรม
อัตถิภาวนิยม existentialism J.K. Stevens, instructor
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ในบริบทกรมแพทย์ทหารเรือ
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การรายงานผลการดำเนินงาน
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การส่งผลงานวิชาการ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบแนวคิด “คุณภาพชีวิต” Conceptual Framework for “Quality of Life” อ.ดร. วัลลภา เชยบัวแก้ว

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ “กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิต” บรรยาย อภิปราย วิเคราะห์มโนทัศน์แบบง่ายด้วยตนเอง ทราบความหมาย และขอบเขตของ “คุณภาพชีวิต” สามารถเชื่อมโยงกับหัวข้ออื่นได้ สามารถเชื่อมโยงทุกหัวข้อเพื่อให้เกิดภาพรวมของ “คุณภาพชีวิต”

ครั้งที่ 1 ทำความเข้าใจกับ “ไม่มีคุณภาพชีวิต” คุณภาพชีวิตตามมุมมองของนิสิต คุณภาพชีวิตตามมุมมองของคนทั่วไป

ไม่สุข ไม่อยู่ดีกินดี ความสุข อยู่ดีกินดี

คุณภาพชีวิต ในมุมมองของนิสิตคืออะไร? เขียนลงในกระดาษที่ TA แจกให้ เพียงความหมายเดียว พร้อมใส่ชื่อและรหัสนิสิต การบ้านรายกลุ่ม คุณภาพชีวิตในมุมมองของคนทั่วไปเป็นอย่างไร ? ทำเป็นคริปวิดีโอความยาวไม่เกิน 3 นาที

ครั้งที่ 2 ทบทวนวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการเรียน ในหัวข้อ “กรอบ แนวคิดคุณภาพชีวิต” นิสิตนำเสนอ “คุณภาพชีวิตตามมุมมองของของคนทั่วไป (คลิป วิดีโอ ความยาวไม่เกิน 3 นาที)” นิสิตทบทวนคุณภาพชีวิตตามมุมมองของตนเอง นิสิตเรียนรู้การวิเคราะห์มโนทัศน์แบบง่าย นิสิตพัฒนา “กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิต” เพื่อนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ “กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิต” บรรยาย อภิปราย วิเคราะห์มโนทัศน์แบบง่ายด้วยตนเอง ทราบความหมาย และขอบเขตของ “คุณภาพชีวิต” สามารถเชื่อมโยงกับหัวข้ออื่นได้ สามารถเชื่อมโยงทุกหัวข้อเพื่อให้เกิดภาพรวมของ “คุณภาพชีวิต”

Concept Analysis Process (Walker& Avant,1995) วิเคราะห์ “คุณภาพชีวิต” วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน วิเคราะห์แนวคิดของคุณภาพชีวิต จากพจนานุกรม จากบทความ หนังสือ งานวิจัย ข้อเขียนอื่นๆ เขียนลงชิ้นกระดาษ ชิ้นละ 1 สาระเท่านั้น นำชิ้นกระดาษของทุกคนมารวมกัน จัดหมวดหมู่และตั้งชื่อหมวดหมู่ 4. นำข้อมูลจากข้อ 4 มาแยกแยะเป็น 3 ส่วนที่เชื่อมโยงกัน Antecedent (ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต) Attribute (คุณลักษณะของคุณภาพชีวิต) Consequence (ผลของการมีคุณภาพชีวิต) 5. นำสาระจากข้อ 4 มาออกแบบเสนอเป็นแผนภาพที่สะท้อนความเชื่อมโยงของทั้ง 3 ส่วน และนั่นคือ “กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิต” ที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาของกลุ่ม

Source: https://www. google. co. th/search

คุณภาพชีวิต ชีวิต + คุณภาพ ความต่างกันระหว่างบุคคล บริบท สังคม ความต้องการ ความสมบูรณ์ในชีวิต ศักยภาพดีในการเจริญเติบโต ทั้งกาย จิต อารมณ์ สังคม ความต้องการการยกย่อง เช่น การได้รับการยกย่องนับถือ มีสถานะดี ร่างกายทำหน้าที่ได้ดี การดำรงอยู่ของชีพ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความต้องการด้านสังคม เช่น รับความรัก การได้รับการยอมรับ ทำหน้าที่การงาน (ประกอบอาชีพ)ได้ดี ความปลอดภัยและความมั่นคง เช่น การคุ้มครอง ความเป็นธรรม เศรษฐกิจมั่นคง มีความปลอดภัย ความต้องการด้านร่างกาย เช่น อาหาร น้ำ อากาศ ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ความต่างกันระหว่างบุคคล บริบท สังคม คุณภาพชีวิตจึงมี มีหลากหลายระดับ

คุณภาพชีวิต: คำอธิบาย Wikipedia: ความอยู่ดีมีสุข (well being) ของบุคคลและสังคม องค์การอนามัยโลก: เป็นความพึงพอใจและการรับรู้สถานะของบุคคลในการดำเนิน ชีวิต โดยจะสัมพันธ์กับ ความคาดหวัง เป้าหมายของบุคคล วัฒนธรรม ค่านิยม มาตรฐานของสังคม รวมถึง การเมืองการปกครอง Cambel (2560): ความสุข ความพอใจ และความหวัง ศาสตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง พวงทอง ไกรพิบูลย์ (2560): ความเป็นอยู่ที่ดีทั้ง ของตนเอง (ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ) และของสังคม ครอบคลุม - ความปลอดภัย สิทธิ และเสรีภาพ - สภาพร่างกาย และจิตใจที่มั่นคงแข็งแรง มีความพอใจ สุขใจสุขกาย - มีความสงบ ไม่ถูกคุกคามด้วยโรคและภาวะผิดปกติต่างๆ ของร่างกายและจิตใจ

คุณภาพชีวิต: คำอธิบาย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ชัชวาล โอสถานนท์ (2560) : คุณภาพของ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษาการเมือง และศาสนา David Phillips (2017): การอยู่ดีมีสุข ความพึงพอใจในชีวิต และความสุข วิทยานิพนธ์ของ ม.บูรพา สรุปมุมมองคุณภาพชีวิตจากหลากหลายสาขา เช่น - นักเศรษฐศาสตร์: เศรษฐกิจดีคนย่อม - นักสังคมวิทยา : สุขภาพ การศึกษา สวัสดิการ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ รายได้ การ มีงานทำ ความเสมอภาค เทคโนโลยี ความผูกพันในสังคม

คุณลักษณะ/องค์ประกอบคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตของคนไทย คุณภาพชีวิตด้านการทํางาน คุณภาพชีวิตด้านครอบครัว คุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพและความเครียด คุณภาพชีวิตด้านชีวิตความเป็นอยู่ ประจําวัน จปฐ. 9 หมวด 1 ประชากรได้กินอาการที่ถูกสุขลักษณะ และเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย (อาหารดี) มี 5 ตัวชี้วัด 2 ประชาชนมีที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม (มีบ้านอยู่อาศัย) มี 5 ตัวชี้วัด 3 ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงบริการสังคมขั้นพื้นฐาน ที่จำเป็นแก่การดำรงชีพ (ศึกษาอนามัยถ้วนทั่ว) มี 12 ตัวชี้วัด 4 ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน (ครอบครัวปลอดภัย) มี 2 ตัวชี้วัด 5 ประชาชนมีการประกอบอาชีพ และมีรายได้พอเพียงต่อการดำรงชีวิต (รายได้ดี) มี 1 ตัวชี้วัด 6 ครอบครัวสามารถควบคุมช่วงเวล และจำนวนของการมีลูกได้ตามต้องการ (มีลูกไม่มาก) มี 2 ตัวชี้วัด 7 ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาความเป็นอยู่ และการกำหนดชีวิตขงตนเอง และชุมชน (อยากร่วมพัฒนา) มี 3 ตัวชี้วัด 8 ประชาชนมีการพัฒนาจิตใจของตนเองให้ดีขึ้น (พาสู่คุณธรรม) มี 5 ตัวชี้วัด 9 ประชาชนมีจิตสำนึก และร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (บำรุงสิ่งแวดล้อม) มี 2 ตัวชี้วัด องค์การสหประชาชาติ ด้านสุขภาพ ด้านการบริโภคอาหาร ด้านการศึกษา ด้านอาชีพและสภาพของงานที่ทำ 5. ด้านบ้านเรือนที่อยู่อาศัย 6. ด้านหลักประกันทางสังคม 7. ด้านเครื่องนุ่งห่ม 8. ด้านสถานที่และเวลาพักผ่อน 9. ด้านสิทธิมนุษยชน องค์การอนามัยโลก  ด้านสุขภาพร่างกาย  ด้านจิตใจ  ด้านสัมพันธสภาพทางสังคม  ด้านสิ่งแวดล้อม นิด้า หลักประกันชีวิต ร่างกายและจิตใจ ครอบครัว สิ่งแวดล้อม สังคม ความสุขทางใจ

ความสุข องค์การสหประชาชาติ World Happiness Report 2017 จีดีพีต่อหัวประชากร (GDP per capita) ความช่วยเหลือทางสังคม (Social Support) สุขภาวะและอายุเฉลี่ยประชากร (Healthy life expectancy at birth) การมีโอกาสและทางเลือกในชีวิต (Freedom to make life choices) ความเอื้ออาทรทางสังคม (Generosity) ดัชนีคอร์รัปชัน (Perception of corruption)

ความอยู่ดีมีสุข เดส์ กาสเปอร์(Des Gasper, 2004) 1. ความพึงพอใจ(pleasure or satisfaction) 2. การได้รับหรือบรรลุในสิ่งที่ชอบ (preference fulfillment) 3. เสรีภาพของการเลือกใช้ชีวิต (free choice) 4. ความมั่งคั่ง (opulence) 5. การบรรลุถึงคุณค่าบางอย่าง ซึ่งเป็นอิสระหรืออยู่นอกเหนือจาก ตัวบุคคล อย่างเช่นการมีสุขภาพดีเป็นต้น 6. การถือครองหรือเป็นเจ้าของทรัพยากรหรือทรัพย์สิน ที่ก่อให้เกิด โอกาส ศักยภาพ หรือความสามารถในการบรรลุเป้าหมาย

ชมชนเมือง ชุมชนชายขอบเมือง ชุมชนชนบท กรอบแนวคิด “คุณภาพชีวิตเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” บุคคล (ตามวัย ภาวะสุขภาพ สิ่งแวดล้อมเฉพาะ การทำงาน รายได้ ความเป็นอยู่ประจำวัน ฯลฯ) ความสุข และ ความอยู่ดีมีสุขด้าน ด้านร่างกาย/สุขภาพ ด้านจิตใจจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และวัฒนธรรม ด้านศาสนา ด้านสวัสดิการ ความปลอดภัย สิทธิและเสรีภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นโยบายภาครัฐ ความเข้มแข็งทางสังคม กฎหมาย การศึกษา สวัสดิการ การทำนุบำรุงศาสนา และวัฒนธรรม ความพอใจในชีวิต ความเสมอภาค ความมั่นคง ความยั่งยืน ชมชนเมือง ชุมชนชายขอบเมือง ชุมชนชนบท

พี่ TA นำน้องนิสิตสรุปว่า วันนี้เรียนรู้อะไร หยิบยกอะไรไปใช้กับชีวิตประจำวันได้ บ้าง

นิสิตที่สนใจสามารถประเมินคุณภาพชีวิตของตนเอง

แบบวัดความสุขคนไทย ประกอบไปด้วยชุดคำถาม 15 ข้อ ดังต่อไปนี้คือ 1 แบบวัดความสุขคนไทย ประกอบไปด้วยชุดคำถาม 15 ข้อ ดังต่อไปนี้คือ  1. ท่านรู้สึกพึงพอใจในชีวิต  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  2. ท่านรู้สึกสบายใจ  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  3. ท่านรู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  4. ท่านรู้สึกผิดหวังในตัวเอง  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  5. ท่านรู้สึกว่าชีวิตของท่านมีแต่ความทุกข์  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด 

6. ท่านสามารถทำใจยอมรับได้สำหรับปัญหาที่ยากจะแก้ไข (เมื่อมีปัญหา)  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  7. ท่านมั่นใจว่าสามารถควบคุมอารมณ์ได้เมื่อมีเหตุการณ์คับขันหรือร้ายแรงเกิดขึ้น  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  8. ท่านมั่นใจที่จะเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิต  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  9. ท่านรู้สึกเห็นใจเมื่อผู้อื่นมีทุกข์  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  10. ท่านรู้สึกเป็นสุขในการช่วยเหลือผู้อื่นที่มีปัญหา  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด 

11. ท่านให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อื่นเมื่อมีโอกาส  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  12. ท่านรู้สึกภูมิใจในตนเอง  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  13. ท่านรู้สึกมั่นคง ปลอดภัยเมื่ออยู่ในครอบครัว  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  14. หากท่านป่วยหนัก ท่านเชื่อว่าครอบครัวจะดูแลท่านเป็นอย่างดี  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด  15. สมาชิกในครอบครัวมีความรักและผูกพันต่อกัน  O ไม่เลย O เล็กน้อย O มาก O มากที่สุด 

การให้คะแนนแบบประเมินแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้  กลุ่มที่ 1 ได้แก่ข้อ 1, 2, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15 แต่ละข้อให้คะแนนดังต่อไปนี้ ไม่เลย = 0 คะแนน เล็กน้อย = 1 คะแนน มาก = 2 คะแนน มากที่สุด = 3 คะแนน  กลุ่มที่ 2 ได้แก่ข้อ 3 4 5 แต่ละข้อให้คะแนนดังต่อไปนี้ ไม่เลย = 3 คะแนน เล็กน้อย = 2 คะแนน มาก = 1 คะแนน มากที่สุด = 0 คะแนน