บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
Advertisements

Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
Solution Explorer Properties Window Tool Box.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
คำสั่งควบคุมการทำงาน
เกม คณิตคิดเร็ว.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
การเขียนโปรแกรม ภาษาปาสคาล (Pascal)
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Variable Constant.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C# รายวิชา 739212 Computer Programming I ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C# ผู้สอน : อ.ปัญญาพร ปรางจโรจน์

วัตถุประสงค์หลักของภาษา C# เป็นภาษาใหม่ที่มีประสิทธิภาพการทำงานเทียบเท่า หรือเหนือกว่า C++ แต่ไม่ยุ่งยากและซับซ้อนเท่า โดยสามารถใช้งานได้ง่ายเหมือนภาษา Visual Basic ทำให้สามารถพัฒนา แอพพลิเคชั่นในระดับสูงได้ดียิ่งกว่าการใช้ภาษา Visual Basic

ส่วนประกอบโดยทั่วไปของโปรแกรม 1. ชื่อโปรแกรม (Program name) โดยทั่วไปมักตั้งชื่อโปรแกรมให้สื่อความหมายกับการทำงานหรือผลลัพธ์ของโปรแกรมเพื่อสะดวกในการใช้งาน นิยมใช้คำกริยานำหน้าตามด้วยคำขยาย 2. การกำหนดตัวแปร(Variables) หรือค่าคงที่(Constant)ที่ใช้ในโปรแกรม โดยกำหนดชื่อในภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายกับข้อมูลที่เก็บ 3. การกำหนดจุดเริ่มต้นของโปรแกรม (Beginning of Code) อาจใช้คำว่า BEGIN หรือ เครื่องหมาย { 4. ชุดคำสั่ง (Statement) เป็นคำสั่งในรูปแบบโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน 5. การกำหนดจุดสิ้นสุดของโปรแกรม (End of Code) อาจใช้คำว่า END หรือ เครื่องหมาย }

คำอธิบาย (Comment) // comment /* multiline comment */ สำหรับคำอธิบายเพียงบรรทัดเดียว /* multiline comment */ กรณีที่คำอธิบายยาว หลายบรรทัด

Separators ตัวแบ่งแยก อาจเป็นสัญลักษณ์หรือตัวอักษร ใช้สำหรับจัดกลุ่มคำหรือแบ่งแยกคำ เช่น ในโปรแกรมภาษา C# ใช้ { } ใช้จัดกลุ่มบล็อก ( ) ต่อท้าย method ใช้สำหรับใส่พารามิเตอร์ [ ] ใช้ระบุอาร์เรย์ ; ใช้ระบุ จบคำสั่ง (end of statement) , ใช้คั่นระหว่างตัวแปร . ใช้แยกชื่อออบเจ็กต์

Keywords คีย์เวิร์ด : เป็นคำที่สงวนไว้ใช้เป็นคำสั่งใน C# ไม่สามารถนำคำเหล่านี้ไปกำหนดเป็นชื่ออย่างอื่นได้

Keywords

การกำหนดตัวแปรและข้อมูล ตัวแปร(Variable) หมายถึง สัญลักษณ์ที่เราใช้แทนข้อมูลชนิดต่างๆ โดยข้อมูลที่จะนำมาเก็บในตัวแปรต้องตรงกับที่เราได้กำหนดไว้ และการจะนำข้อมูลไปใช้งานก็ต้องกระทำผ่านตัวแปรนี้ จำเป็นต้องระบุลงไปด้วยว่าตัวแปรนั้นใช้เก็บข้อมูลชนิดใด

หลักการตั้งชื่อตัวแปร ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ห้ามใช้ตัวเลข หรืออักขระเป็นตัวเริ่มต้น รูปแบบตัวอักษรพิมพ์ต่างกัน ถือเป็นคนละตัว (case sensitive) เช่น myvar, myVar, MYVAR ถือเป็นคนละตัว ห้ามตั้งชื่อตัวแปรซ้ำกับคำสงวน

หลักการตั้งชื่อตัวแปร ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ถูกต้อง Num, myNum1, string4, Data ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ไม่ถูกต้อง 9xx, @myWeb, Look@me

การประกาศตัวแปร (Variable) วิธี1 [ชนิดของข้อมูล] ชื่อตัวแปร; วิธี2 [ชนิดของข้อมูล] ชื่อตัวแปร = [ค่าเริ่มต้นของตัวแปร]; int x; int y, z; int Y, Z = 3; Double d = 10.99; String s1 = “Visual", s2=“C#” , s3=“.Net”; หมายเหตุ: ไม่สามารถประกาศตัวแปรซ้ำภายในบล็อก {…} เดียวกัน

การประกาศค่าคงที่ (Constant) ค่าคงที่เป็นตัวแปรที่กำหนดค่าตายตัว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ const [ชนิดของข้อมูล] ชื่อตัวแปร = ค่าคงที่; const int x = 1; const double pi = 3.14; หมายเหตุ: ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าคงที่ได้

ขอบเขตของตัวแปร Global Variable ตัวแปรที่ใช้ได้ทั้งโปรแกรม Local Variable ตัวแปรที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ มีขอบเขตเฉพาะส่วนที่เกิดขึ้น

มุมมองขอบเขตของตัวแปร ระดับ Public มีขอบเขตกว้างที่สุด สามารถเรียกใช้ ณ ตำแหน่งใดก็ได้ที่อยู่ในโปรเจ็ค ระดับ Procedure มีขอบเขตขนาดกลาง เป็นระดับที่เหมาะสมกับการใช้งานมากที่สุด มีขอบเขตอยู่ในแต่ละเหตุการณ์ ระดับ Block มีขอบเขตขนาดเล็กที่สุด มักจะใช้เก็บค่าชั่วคราว หรือตัวแปรที่วนลูปเป็นส่วนใหญ่ เช่น ตัวแปรที่อยู่ในบล็อกของคำสั่งต่างๆ เช่น if…else เป็นต้น

Parameter คือตัวแปรที่ใช้ในการส่งค่ามายังฟังก์ชันหรือ เมทธอด สามารถส่งผ่านค่าตัวแปร ไปทำงานในโปรแกรมย่อย ได้ 3 แบบ ได้แก่ Pass By Value Pass By Reference Pass By Constant

ประเภทของข้อมูลในภาษา C# 1. Value types 2. References types 3. Pointer types

ประเภทของข้อมูลในภาษา C# Value types ตัวแปรของกลุ่มนี้เป็นประเภทที่ใช้ข้อมูลโดยตรง จะเปลี่ยนแปลงค่าเมื่อมีค่าใหม่ไปเก็บทับค่าเดิม และจะถูกทำลายเมื่ออยู่นอกขอบเขต ชนิดข้อมูลในกลุ่มประเภทนี้ คือ sbyte, byte, short, ushort, int, uint, long, ulong, char, float, double, bool และ decimal

ชนิดของข้อมูล Numeric (เลขจำนวนเต็ม และเลขทศนิยม) Char (ตัวอักษร) String (ข้อความ) Boolean (บูลีน) Object

เลขจำนวนเต็ม Data type ขนาด ค่าของข้อมูล sbyte (System.SByte) 1 byte -128 ถึง 127 short (System.Int16) 2 bytes -32,768 ถึง 32,767 int (System.Int32) 4 bytes -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 long (System.Int64) 8 bytes -263 ถึง (263 – 1)

เลขจำนวนเต็มบวก Data type ขนาด ค่าของข้อมูล byte (System.Byte) 1 byte 0 ถึง 255 ushort (System.UInt16) 2 bytes 0 ถึง 65,535 uint (System.UInt32) 4 bytes 0 ถึง 4,294,967,295 ulong (System.UInt64) 8 bytes 0 ถึง 264 -1

เลขทศนิยม Data type ขนาด ค่าของข้อมูล float (System.Single) 4 bytes ±1.5 x 10-45 ถึง ±3.4 x 1038 ความแม่นยำของทศนิยมอยู่ที่ 7 ตำแหน่ง double (System.Double) 8 bytes ±5.0 x 10-324 ถึง ±1.7 x 10308 ความแม่นยำของทศนิยมอยู่ที่ 15 ตำแหน่ง, มีช่วงของข้อมูลกว้างที่สุด decimal (System.Decimal) 16 bytes ±1.0 x 10-28 ถึง ±7.9 x 1028 ความแม่นยำของทศนิยมอยู่ที่ 28 ตำแหน่ง, ช่วงข้อมูลแคบกว่า double แต่ให้ค่าละเอียดมากในส่วนของทศนิยม เหมาะกับการคำนวณเรื่องเงิน

ชนิดข้อมูลอักขระ char c = ‘A’; string s = “Welcome”; Data type ขนาด ค่าของข้อมูล char (System.Char) 2 bytes ตัวอักษรแบบ Unicode มีเครื่องหมาย ' (single quote) คร่อมตัวอักษร เช่น 'A', '1‘ char c = ‘A’; string (System.String) ไม่แน่นอน ตัวอักษรแบบ Unicode หลายตัวมารวมกัน มีเครื่องหมาย " (double quote) คร่อม เช่น "Hello“ string s = “Welcome”;

ข้อมูลชนิดบูลีน bool bfact; bfact = true; หรือ bool bfact = true; Data type ขนาด ค่าของข้อมูล bool (System.Boolean) 1 bit มีค่าที่เป็นไปได้ 2 ค่า คือ true และ false นำมาใช้กรณีเกี่ยวกับการเลือกโดยพิจารณาเงื่อนไข เช่น bool bfact; bfact = true; หรือ bool bfact = true;