ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ (แก้มลิงธรรมชาติ ปี 60)
พื้นที่ลุ่มต่ำลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่าง จังหวัด พื้นที่ (ไร่) กรุงเทพมหานคร 7,874 ฉะเชิงเทรา 86,642 ขัยนาท 25,718 นครนายก 31,878 นครปฐม 61,958 นครสวรรค์ 9,540 นนทบุรี 15,899 ปทุมธานี 27,138 พระนครศรีอยุธยา 472,134 ลพบุรี 101,891 สมุทรปราการ 5,351 สระบุรี 30,631 สิงห์บุรี 33,146 สุพรรณบุรี 239,944 อ่างทอง 256 รวม 1,150,000
สถานการณ์ และสภาพปัญหาในพื้นที่ลุ่มต่ำ ปัญหาอุทกภัยจากปริมาณน้ำในฤดูฝน และเป็นพื้นที่รับน้ำหลาก - เกิดประจำเกือบทุกปี ช่วง ก.ย.-ต.ค. - เป็นพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการระบายน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยา พื้นที่ลุ่มต่ำ ครอบคลุมพื้นที่ 15 จังหวัด 51 อำเภอ พื้นที่ 1,150,000 ไร่ ในช่วงฤดูแล้งพื้นที่เกษตรกรรมขาดแคลนน้ำเพื่อการเพาะปลูก
แนวทางส่งเสริมการปลูกพืชในพื้นที่ลุ่มต่ำ (แก้มลิงธรรมชาติ ปี 60) ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในฤดูน้ำหลาก ระหว่างเดือนกันยายน – เดือนตุลาคม เช่น การรวมกลุ่มแปรรูปผลผลิต และหัตถกรรม เป็นต้น ส่งเสริมการปลูกพืชอายุสั้นใช้น้ำน้อย หรือพืชให้ผลตอบแทนสูงในฤดูแล้ง ตามปริมาณน้ำต้นทุน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชตระกูลถั่ว พืชผัก เป็นต้น จัดระบบการปลูกพืช - ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกข้าว 2 ครั้งต่อปี - เลื่อนฤดูเพาะปลูกข้าวนาปี เริ่มตั้งแต่ 1 พฤษภาคม และเก็บเกี่ยวแล้วเสร็จปลายเดือนสิงหาคม - ส่งเสริมการใช้ข้าวพันธุ์ดีที่เหมาะสม เข่น พันธุ์ปทุมธานี 1, กข 29, กข 41 และ กข 49
การปรับรอบการเพาะปลูกข้าวในพื้นที่ลุ่มต่ำ “แก้มลิงธรรมชาติ ปี 60” อุทกภัย รับน้ำหลาก ขาดน้ำเพื่อการเกษตรในฤดูแล้ง พื้นที่ลุ่มต่ำ พื้นที่ในเขตชลประทาน 15 จังหวัด พื้นที่ 1,150,000 ไร่ เป้าหมายการปรับรอบการเพาะปลูกข้าว “พื้นที่ลุ่มต่ำ” สชป. 10 373,663 ไร่ สชป. 11 489,364 ไร่ สชป. 12 286,973 ไร่ ปลูกข้าวนาปรัง/พืชใช้น้ำน้อย แผนการบริหารจัดการน้ำ แบบมีส่วนร่วม ส่งเสริมอาชีพ ช่วงพักนา ปลูกข้าวนาปรัง/พืชใช้น้ำน้อย ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ประชุมชี้แจง เจ้าหน้าที่ และผู้นำชุมชน กำหนดขั้นตอนการขึ้นทะเบียน ขึ้นทะเบียนเพาะ ปลูกข้าว ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. รายงานผล ชลประทานส่งน้ำ น้ำท่วม เริ่มต้นฤดูแล้ง เพาะปลูกข้าว ให้ความรู้และติดตามให้คำแนะนำการปลูกพืชใช้น้ำน้อย การเตรียม ดินเหมาะสมกับพื้นที่ลุ่มต่ำ การเก็บเกี่ยวและ Post-Harvest ให้ความรู้และติดตามให้คำแนะนำการปลูกพืชใช้น้ำน้อย การตลาด ให้ความรู้เรื่อง เมล็ดพันธุ์ข้าว วิธีการทำนาในพื้นที่ ลุ่มต่ำ แผนการถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร การดูแลรักษา/ป้องกันกำจัดศัตรูพืช
การจัดระบบการปลูกพืชในพื้นที่ลุ่มต่ำ “แก้มลิงธรรมชาติ ปี 60” ฤดูฝน น้ำท่วม ฤดูแล้ง ข้าวนาปรัง ข้าวนาปี พักนา ข้าวนาปรัง พืชผัก ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วเขียว ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ถั่วลิสง ถั่วลิสง ข้าวโพด ข้าวโพด ข้าวโพด ถั่วเขียว ข้าวโพด รวมกลุ่มแปรรูป หรือหัตถกรรม ข้าวโพด พืชผัก ข้าวโพด ข้าวโพด ข้าวโพด ปอเทือง ข้าวโพด ช่วงฤดูแล้ง พืชอายุสั้นใช้น้ำน้อย ช่วงเพาะปลูกข้าวนาปี ช่วงฤดูแล้ง พืชอายุสั้นใช้น้ำน้อย เลือกพันธุ์ข้าวที่เหมาะสม 1 ต้องเลือกชนิดพืชให้เหมาะสมกับพื้นที่และปริมาณน้ำ 1 ต้องปลูกข้าวให้แล้วเสร็จ ภายใน 15 พ.ค. 2 ร่วมบริหารจัดการน้ำ 3 มีลู่ทางการตลาด ข้อกำหนด การปลูกพืชในพื้นที่ลุ่มต่ำ 2 จัดรอบเวรการส่งน้ำ 4 เก็บเกี่ยวภายใน 31 ส.ค. 5
พันธุ์ข้าวแนะนำ ที่มา : กรมการข้าว ลักษณะ ประจำพันธุ์ ผลผลิต (กก./ไร่) ลักษณะเด่น ข้อควรระวัง พื้นที่แนะนำ ปทุมธานี 1 ไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยว 110 วัน ทรงกอตั้ง คุณภาพข้าวสุกนุ่มเหนียมมีกลิ่นหอม 650-774 ผลผลิตสูง คุณภาพคล้ายมะลิ 105 ต้านทานเพลี่ยกระโดดสีน้ำตาล โรคไหม้ และโรคขอบใบแห้ง ค่อนข้างอ่อนแอเพลี้ยจักจั่นสีเขียว โรคใบหงิก และโรคใบสีส้ม เขตชลประทานในภาคกลาง กข 29 (ชัยนาท 80 ) อายุเก็บเกี่ยว 103 วัน ทรงกอตั้งตรง ต้นแข็งไม่ล้มง่าย 876 อายุเก็บเกี่ยวสั้น ค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และโรคขอบใบแห้ง 1. ไม่ควรปลูกกลาง ก.ย.ถึง ปลาย พ.ย. ซึ่งมีอากาศเย็น ทำให้เมล็ดลีบ ผลผลิตต่ำ 2. อ่อนแอต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ในพื้นที่ปทุมธานี นครปฐม ราชบุรี และฉะเชิงเทรา พื้นที่นาชลประทาน ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน หรือหลังน้ำท่วมในฤดูฝน กข 41 (RD 41) อายุเก็บเกี่ยว 105 วัน กอตั้ง ต้นแข็ง ใบธงตั้งตรง คุณภาพการสีดี 722 ผลผลิตสูง ค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล และโรคไหม้ สามารถสีเป็นข้าวสาร 100% ได้ อ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้ง ไม่ควรใส่ปุ๋ย N สูงเกินไป อ่อนแอต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในพื้นที่นครปฐม และปทุมธานี พื้นที่นาชลประทาน ภาคเหนือตอนล่าง กข 49 (RD 49) อายุเก็บเกี่ยว 102-107 วัน ทรงกอตั้ง ใบธงตั้ง รวงแน่นปานกลาง คอรวงสั้น 733 ผลผลิตสูง สามารถสีเป็นข้าวสาร 100% ได้ ค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลชีวชนิดใหม่ และโรคไหม้ - พื้นที่นาชลประทาน หมายเหตุ : ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวลพบุรี มีเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 พร้อมจำหน่ายให้เกษตรกร - ชั้นพันธุ์จำหน่าย กิโลกรัมละ 16 บาท - ชั้นพันธุ์ขยาย กิโลกรัมละ 17 บาท *** มีส่วนลด 5 % เมื่อซื้อพันธุ์ข้าว 5,000 บาท ขึ้นไป สำหรับกลุ่มเกษตรกร
แนวทางการดำเนินงานของนักส่งเสริมการเกษตร ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้/ทำความเข้าใจกับเกษตรกร - พื้นที่ลุ่มต่ำ : ปรับระบบการปลูกพืช ใช้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสม - พื้นที่ทั่วไป : เริ่มฤดูกาลผลิตเมื่อมีปริมาณฝนเพียงพอ 1 ถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตที่เหมาะสม ก่อนฤดูกาลผลิตใหม่ 2 ติดตามให้คำแนะนำเกษตรกรอย่างใกล้ชิด และรายงานให้กรมฯ ทราบทุกสัปดาห์ 3 ส่งเสริมอาชีพผ่าน ศพก. และ ศพก.เครือข่าย ในช่วงน้ำหลาก เช่น แปรรูปผลผลิต 4 ส่งเสริมการปลูกพืชอายุสั้นใช้น้ำน้อยในช่วงฤดูแล้ง 5
จบการนำเสนอ