การบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วย ก่อนกลับเข้าทำงาน RETURN TO WORK MANAGEMENT
กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยโรคกระดูกและกล้ามเนื้อ สิทธิประกันสังคม รพ.สกลนคร
การติดตามเยี่ยมบ้าน
กระบวนการพยาบาลกับRTW พิจารณาการตอบสนองทั้งด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย/ครอบครัวที่เป็นผลจากการทำงานของระบบในร่างกาย เน้นการสอนผู้ป่วยเพื่อให้สามารถทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ด้วยตัวเอง ปรึกษาแพทย์เพื่อให้การรักษาโรค ให้คำแนะนำและเป็นที่ปรึกษาให้กับผู้ป่วยและครอบครัว
การติดตามเยี่ยมผู้ป่วยก่อนประเมินกลับเข้าทำงาน
Return to work management (RTW) “ กระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วยกรณีที่มีการหยุดงาน3วันทำงานติดต่อกันเนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยไม่ว่ากรณีใดๆ ”
แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ทีมสหสาขาวิชาชีพ แพทย์เจ้าของไข้ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ พยาบาลอาชีวอนามัย นักอาชีวบำบัด นักกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา
ขั้นตอนการประเมินผู้ป่วยกลับเข้าทำงาน การรวบรวมข้อมูล มี 3ด้าน ข้อมูลเกี่ยวกับอาการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย ข้อมูลเกี่ยวกับงานของผู้ป่วย ข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิการรักษา ดูความเสี่ยงของผู้ป่วย ดูความสามารถสูงสุดของผู้ป่วย (Capacity) ดูความทนของผู้ป่วย(Tolerance)
แบบประเมินการกลับเข้าทำงาน RTW01แบบฟอร์มคัดกรองผู้ป่วยเพื่อประเมินปัญหาการกลับเข้าทำงาน RTW02แบบประเมินกรณีการเจ็บป่วยมีผลต่อสุขภาพและการทำงาน(มีปัญหาในการกลับเข้าทำงาน) RTW03แบบสรุปผลการประเมินและแจ้งผลให้กับผู้ป่วย RTW04แบบสรุปผลการประเมินและแจ้งผลให้กับสถานประกอบการ RTW05แบบติดตามหลังการกลับเข้าทำงาน เช่น สิ้นสุดการรักษา , ติดตามรักษาฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง , ไม่สามารถทำงานในตำแหน่งใหม่ได้
Guidelines for workplace return to work programs โรงพยาบาลสกลนคร ผู้ป่วยเจ็บป่วย / บาดเจ็บ ที่ต้องการประเมินก่อนกลับเข้าทำงาน OPD IPD แพทย์ผู้รักษา ส่งผู้ป่วยที่เจ็บป่วย/บาดเจ็บ ให้แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ประเมินRTWก่อนผู้ป่วยกลับเข้าทำงาน ทีมแพทย์ผู้รักษา ส่งผู้ป่วยที่เจ็บป่วย/บาดเจ็บ ขณะนอนรพ. ให้แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ประเมินRTWก่อนผู้ป่วยกลับบ้าน คลีนิกโรคจากการทำงาน พบแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ เพื่อตรวจประเมินอาการ เจ็บป่วย /บาดเจ็บ ก่อนกลับเข้าทำงาน ใช้แบบประเมิน RTW 01,02,03,04,05 ไม่สามารถกลับเข้าทำงานได้ กลับไปทำงานใหม่ได้ (เปลี่ยนอาชีพ) กลับเข้าทำงานเดิมได้ ดูแลรักษา/ฟื้นฟู/ส่งต่อ จนผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด กลับไปทำงานใหม่ได้ (นายจ้างเดิม)
กระบวนการพยาบาลอาชีวอนามัยในการประเมินการกลับเข้าทำงาน -ประเมินภาวะสุขภาพ - ประเมินปัญหาและความต้องการด้านอาชีวอนามัยของผู้ป่วย -วางแผนการดูแลทั้งในระยะเฉียบพลันและระยะฟื้นฟูสภาพ ปรับสภาพแวดล้อมการทำงาน ล้กษณะงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ -ติดตามกำกับสนับสนุนกระบวนการบริการตามแผนการดูแล -ประสานการดำเนินงานทั้งในและนอกองค์กร -ประเมินและติดตามผลลัพธ์ -ทบทวน -จัดให้ผู้รับบริการกลับเข้าทำงาน -เปลี่ยนอาชีพ -ติดตามผลการกลับเข้าทำงาน -การเปลี่ยนอาชีพ -การดูแลช่วยเหลือตนเอง
Case 1 ผิวหนัง (contact dermatitis) ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 36 ปี อาชีพงานธุรการ บริษัท ผลิตน้ำมันปาล์ม อาการแสดง : ผื่นคัน ตุ่มน้ำใส บริเวณนอกร่มผ้า ตำแหน่ง : คอ แขน มือ ข้อเท้า ได้รับการวินิจฉัยจากโรงพยาบาลสกลนคร Contact dermatitis จาก เมล็ดปาล์ม เหตุเกิด วันที่ 27 พ.ค. 2559 เริ่มหยุดงานวันที่ 1 มิ.ย. 2559 ผู้ป่วยสมัครใจไม่ทำงานต่อ ติดตามอาการ F/U ที่ รพ. แผลดีขึ้น
Case 2 กระดูกและกล้ามเนื้อ ผู้ป่วยชาย อายุ 56 ปี ลูกจ้าง แผนกซ่อมเครื่อง ฟาร์มเลี้ยงปลา เกิดอุบัติเหตุลื่นล้มขณะยกไดนาโมสูบน้ำที่บ่อปลา วันที่ 16 พ.ค. 59 Low back pain รักษาตัว รพ. ใกล้บ้าน อาการไม่ดีขึ้นส่งต่อ รพ. สกลนคร อยู่ระหว่างการติดตามFU และ RTW
ผลการดำเนินงานRTW แขน/มือ 2 1 3 - ขา/เท้า ลำตัว 10 5 4 ผิวหนัง (ผื่น)1 อวัยวะ ประเภทการเจ็บป่วย การกลับเข้าทำงาน บาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ รวม ทำงานเดิม เปลี่ยนงาน ระหว่างการฟื้นฟู/ทำกายภาพ แขน/มือ 2 1 3 - ขา/เท้า ลำตัว 10 5 4 ผิวหนัง (ผื่น)1
ผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินงาน มีแนวทางการดำเนินงานการดูแลผู้ป่วยเพื่อการกลับเข้าทำงาน มีการพัฒนาเป็นขั้นตอนปฏิบัติ รูปแบบการพยาบาลอาชีวอนามัยในการบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
สิ่งที่พัฒนาต่อไป พัฒนาให้เกิดการ ประเมินการดูแลเพื่อการ กลับเข้าทำงานในทุก สาขา ทีมสหวิชาชีพสามารถ ประเมินความต้องการ การดูแลเพื่อการกลับเข้า ทำงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ พัฒนาแบบบันทึก ทางการพยาบาลอาชีวอ นามัยเพื่อการกลับเข้า ทำงานให้ง่ายและสะดวก ใช้สื่อสารกับทีมสห วิชาชีพได้ดี
http://travel.mthai.com/wp-content/uploads/2014/01/2nh2.jpg