ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
Advertisements

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance
ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส
นำเสนอต่อ ผู้บริหารของกรมสุขภาพจิต
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
การชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 2 SP7 ผ่านระบบวิดีทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย.
ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
จริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจ
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวร ศักดิ์ อุวรรณโณ ราชบัณฑิต ประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 13 1.
จรรยาบรรณวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อ สังคม ของวิชาชีพวิศวกรรม ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล พฤศจิกายน 2550.
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
Office of The National Anti-Corruption Commission
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
การเมืองการปกครองของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เบื้องต้น)
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ณ ห้องประชุมแสงสิงแก้ว ชั้น 4
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
Click to edit Master title style
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
กฎหมายอาญา(Crime Law)
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
ธรรมาภิบาลในภาครัฐ โดย สุธรรม ส่งศิริ.
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
13 October 2007
ทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
คำนิยาม จริยธรรม: สิ่งที่ควรประพฤติ (ตามข้อกำหนด เพราะทำให้ สังคมเป็นสุข) ศิลธรรม: จริยธรรมที่กำหนดโดยหลักศาสนา คุณธรรม: ธรรมที่ปฏิบัติแล้วเป็นคุณทั้งต่อผู้อื่นและตนเอง.
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
Dr.Pokkrong Manirojana
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
(เครื่องมือทางการบริหาร)
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
FMC Model ดร.รณวริทธิ์ ปริยฉัตรตระกูล
Good Governance.
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
สถาบันอุดมศึกษา ต้องพัฒนาเป็นธรรมาภิบาล
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การประเมินราคา (Cost estimation).
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
รางวัลและโทษทัณฑ์ ข้อมูลและการสื่อสาร กับ การระงับข้อพิพาท
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา การประชุมวิชาการ เรื่อง เดินหน้าอุดมศึกษาไทย วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ณ โรงแรมดวงตะวัน เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ นายขจร จิตสุขุมมงคล รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

ธรรมาภิบาล ธรรม  อภิบาล ความหมาย = (คุณความดี, ความถูกต้อง) (บำรุงรักษา, ปกครอง) = วิธีการปกครองที่ดี หรือ หลักการบริหารบนพื้นฐานของหลักธรรม ความดี และความถูกต้อง มาจากภาษาอังกฤษว่า GOOD GOVERNANCE ธรรมาภิบาล ธรรม  อภิบาล

หลักการสำคัญ ๖ ประการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ได้กำหนดแนวทางการส่งเสริมและพัฒนา ระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีให้แก่หน่วยงานต่างๆ โดยอยู่บนพื้นฐานของ หลักการสำคัญ ๖ ประการ ดังนี้ ๑. หลักนิติธรรม ๔. หลักความมีส่วนร่วม ๒. หลักคุณธรรม ๕. หลักความรับผิดชอบ ๓. หลักความโปร่งใส ๖. หลักความคุ้มค่า

หลักการสำคัญ ๖ ประการ (ต่อ) ๑. หลักนิติธรรม (The Rule of Law) ได้แก่ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทันสมัยและเป็นธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม และสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบัติตาม โดยถือว่าเป็นการ ปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ตามอำเภอใจ หรืออำนาจของตัวบุคคล ๒. หลักคุณธรรม (Ethics, Morality) ได้แก่ การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม เช่น ความซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน เมตตากรุณา เสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ทั้งความประพฤติและจิตใจ ๓. หลักความโปร่งใส (Transparency) ได้แก่ การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน มีการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ การบริหารจัดการมีระบบ ระเบียบ กระบวนการ ขั้นตอน ที่ชัดเจน ตรวจสอบได้ทั้งการให้คุณและให้โทษ

หลักการสำคัญ ๖ ประการ (ต่อ) ๔. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) ได้แก่ การเปิดโอกาสให้ประชาคม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับรู้ ได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการกำหนดนโยบาย การวางแผน การตัดสินใจ หรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ๕. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility and Accountability) ได้แก่ การตระหนักในสิทธิหน้าที่ ความสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจปัญหาสาธารณะและกระตือรือร้นในการแก้ปัญหา รวมถึงความรับผิดชอบ ในผลงาน หรือปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ตลอดจนความ พร้อมที่จะถูกตรวจสอบและกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทำของตน

หลักการสำคัญ ๖ ประการ (ต่อ) ๖. หลักความคุ้มค่า (Cost –Effectiveness or Utility) ได้แก่ การบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อส่วนรวม โดยคำนึงถึงความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก และการ รักษาพัฒนาทรัพยากรให้สมบูรณ์ยั่งยืน เช่น มีการวางแผนการใช้จ่ายเงินและการ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีการกำหนดเป้าหมายและพันธกิจที่สอดคล้อง กับนโยบายและวิสัยทัศน์ ยึดหลักความประหยัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ยึดหลักการให้ผลตอบแทนตามผลงาน และมีการตรวจสอบได้

บริบทของสถาบันอุดมศึกษา นิสิต/นักศึกษา รัฐบาล นโยบายรัฐบาล กฎหมาย ภาค ประชาชน สภาสถาบันฯ คณะผู้บริหาร ศูนย์ ความคาดหวัง คณะ การแข่งขัน สถาบัน สำนัก วงวิชาการและวิชาชีพ หน่วยงานภายนอก เศรษฐกิจ งบประมาณ ภาค เอกชน

ความสำคัญของธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ม.๓๖) ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัด การศึกษาในระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และดำเนินกิจการได้โดยอิสระ สามารถพัฒนา ระบบบริหารและการจัดการที่เป็นของตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้ง สถานศึกษานั้นๆ สภาสถาบันอุดมศึกษา เป็นองค์คณะบุคคล ซึ่งมีอำนาจและหน้าที่ในการควบคุม กำกับ ดูแลกิจการโดยทั่วไปของสถาบันอุดมศึกษา โดยเฉพาะ การวางนโยบายการบริหารและ พัฒนาสถาบัน การออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับเกี่ยวกับกิจการต่างๆ ของสถาบัน ตลอดจน อำนาจในการอนุมัติ อนุญาต ต่างๆ จึงเป็นองค์คณะบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการกำหนดทิศทางการพัฒนาของสถาบันอุดมศึกษา และช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้การ บริหารกิจการของสถาบันอุดมศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถก้าวไปสู่การ แข่งขันในระดับชาติและระดับนานาชาติได้อย่างเข้มแข็ง

การบริหารตามหลักธรรมาภิบาล วิสัยทัศน์ นโยบาย พันธกิจ แผนงาน วางกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ การบริหาร/ การปฏิบัติตามภารกิจ วัดผลสัมฤทธิ์ การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล ธรรมาภิบาล

ปัญหาธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา การประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาธรรมาภิบาล ในสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันพุธที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ระหว่างรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ (นายธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์) สำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ อาทิ สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน สำนักงาน ป.ป.ท., สำนักงาน ป.ป.ช., สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, สำนักงานการตรวจเงิน แผ่นดิน องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) เป็นต้น ได้มีการสรุปประเด็นการ ร้องเรียนความไม่ชอบธรรมและการประพฤติผิดในสถาบันอุดมศึกษา โดยมีประเด็นหลัก ๓ ประการ ได้แก่ ๑. การสรรหาผู้บริหารและสภาสถาบันอุดมศึกษา ๒. การจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพและไม่ได้มาตรฐาน ๓. การลอกเลียนผลงานทางวิชาการ รวมถึงการจ้างทำและคัดลอก วิทยานิพนธ์

ผลกระทบเมื่อขาดธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา  มีข้อร้องเรียนมาก  การบริหารกิจการต่างๆ เกิดภาวะชะลอตัว หรือหยุดชะงัก  สถาบันอุดมศึกษาอ่อนแอ ไม่สามารถพัฒนาหรือแข่งขันได้  บุคลากรขาดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน  สังคมขาดความศรัทธา การยอมรับ และความเชื่อถือ  ประสบปัญหาการเงิน และการบริหารทรัพยากร ฯลฯ

แนวทางการส่งเสริมธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา  วางระบบ/กลไกที่ดีและมีประสิทธิภาพ ในการได้มาซึ่งนายกสภาและ กรรมการสภาสถาบัน และผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ได้บุคคลที่มีทั้งความรู้ ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรม สามารถช่วยพัฒนา หรือแก้ไขปัญหาได้  สำรวจและประเมินตนเองในฐานะองค์กรบริหารสูงสุดของสถาบัน เป็นแบบอย่างที่ดีในการบริหารกิจการสถาบันอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล  กระตุ้นและส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา มีค่านิยม/วัฒนธรรมองค์กรที่ดีในการปฏิบัติงาน มิติของสภาสถาบันฯ และคณะผู้บริหาร

แนวทางการส่งเสริมธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ)  ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ต่อภารกิจ ต่อสถาบันอุดมศึกษา ต่อนิสิตนักศึกษา และต่อสังคม  มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสถาบันอุดมศึกษา เป็นส่วนหนึ่งในการ พัฒนาสถาบันอุดมศึกษาในด้านต่างๆ  มีส่วนร่วมในการตรวจสอบและผลักดันให้เกิดธรรมาภิบาล ในสถาบันอุดมศึกษาของตน มิติของประชาคมในสถาบันอุดมศึกษา

แนวทางการส่งเสริมธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ)  ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้บริหารและสภาสถาบันอุดมศึกษามีความรู้และ ทักษะในการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลในมิติต่างๆ เช่น การจัดทำกรอบมาตรฐาน หลักสูตรกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษา กรรมการตรวจสอบ กรรมการสภาวิชาการ  มีกลไกการติดตามและประเมินผลการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของ สถาบันอุดมศึกษา มิติของ สกอ.

ขอขอบคุณ