ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จงเขียนโปรแกรมในการคำนวณหาค่า function ข้างล่างโดยอาศัยหลักการ
Advertisements

หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ และพัฒนาองค์กร
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
การวิเคราะห์การปฏิบัติงาน
ระบบงานบริหารทั่วไป ( เฉพาะระบบงาน สารบรรณในส่วนกลาง ) 1.1 ระบบงานบริหารทั่วไป ( เฉพาะระบบงาน สารบรรณในส่วนกลาง ) โดยความร่วมมือของ สล. ระบบงานสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ทาง.
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
I-dbase Intra Database DiOC Division Operation Center e-Report รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน LOGIN 411 User การพัฒนาฐานข้อมูล [] แผนปฏิบัติงาน [] JOB.
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
Risk Management “Risk” “ ความเสี่ยง ” เหตุการณ์ / ประเด็นที่มีโอกาส เกิดขึ้นในอนาคตและจะส่งผลกระทบในแง่ลบต่อ การดำเนินการขององค์กร - ประเด็นที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแนวทางการ.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้อง ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกแดง ทำเนียบรัฐบาล 1.
หน่วยที่ 1 ซอฟต์แวร์.
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
Office of The National Anti-Corruption Commission
Queue [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Database Planning, Design, and Administration
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงสร้างการทำงานแบบทางเลือก
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มติดตามและประเมินผล กอง แผนงานและวิชาการ.
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การประชุมจัดทำ Roadmap กระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
พชรวรรณ ธัญญาดี ส่วนจัดการงบประมาณ สำนักแผนงานและสารสนเทศ
แนวทางและนโยบาย การบริหารความเสี่ยง
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
สรุปการดำเนินงานของ บภ.1.1 – 5.2 และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย.
Controlled Phase Shift Gate
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
ปฏิบัติการที่ 05 การดำเนินการกับเมทริกซ์
บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
Mini-research ตึกศัลยกรรมหญิง.
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
พยานหลักฐาน และความชอบด้วยกฎหมายของการสอบสวน
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการและองค์ประกอบสำคัญของ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS Features and Principles)
เทคนิคการสอบสวน พันตำรวจเอก ดร.สุรศักดิ์ เลาหพิบูลย์กุล
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
Operator นิพจน์และตัวดำเนินการ.
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์ Transport and Logistics Management
MR. PAPHAT AUPAKA UPDATE PICTURE MEETING ROOM SYSTEM
ตลาดบริการ และ ลูกค้าเป้าหมาย วิชาการจัดการธุรกิจบริการ
วิธีและเทคนิคการฝึกอบรม
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
เท้าปุก (Club foot) อ.นภิสสรา ธีระเนตร.
บทที่ 5 การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานInfrastructure as a service (IaaS)
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศฯ

๑.ร้อยละความสำเร็จในการของการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร ผู้เลี้ยงสัตว์ น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐ รอบการประเมิน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ รอบการประเมิน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ คะแนนที่ได้ ๑ ๒ ๓ ๔ ร้อยละของการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘๐ คะแนนที่ได้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ร้อยละของการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ ๑๐๐

ตัวชี้วัดที่ ๑ (ต่อ) เงื่อนไข : การปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรครบถ้วน ดังนี้ ๑.ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์หรือนิติบุคคล ๒.ข้อมูลพิกัดที่ตั้งสถานที่เลี้ยง ๓.รูปภาพเกษตรกร เป้าหมาย : จำนวนรายเกษตรกร อ.เมือง จำนวน ๑,๒๔๕ ราย อ.บางคนที จำนวน ๙๓๔ ราย อ.อัมพวา จำนวน ๔๕๑ ราย

๒.ระดับความสำเร็จในการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕ รอบการประเมิน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ มีการจัดทำแผนและกำหนดแนวทางการสร้างการรับรู้ฯ ๒ มีการสื่อสารภายในองค์กรเพื่อให้บุคลากรในสังกัดทราบ ๓ มีการดำเนินงานตามแผนการสร้างรับรู้ฯอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๖๐ ๔ มีการดำเนินงานตามแผนการสร้างรับรู้ฯอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๘๐ ๕ มีการดำเนินงานตามแผนฯ ร้อยละ ๑๐๐ และส่งรายงานตามวันเวลาที่กำหนด

ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ตัวชี้วัดที่ ๒ (ต่อ) รอบการประเมิน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ ทบทวนแผนการดำเนินการสร้างการรับรู้ฯ ๒ มีการดำเนินงานตามแผนฯอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๗๐ ๓ มีการดำเนินงานตามแผนฯ อย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๘๐ ๔ มีการดำเนินงานตามแผนฯ อย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๙๐ ๕ มีการดำเนินงานตามแผนฯ อย่างเป็นรุกธรรม ร้อยละ ๑๐๐ และส่งรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามวัน เวลา ที่กำหนด

ตัวชี้วัดที่ ๒ (ต่อ) เงื่อนไข : การดำเนินงาน ๑.สามารถนำประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล ไปยังประชาชนกลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อต่าง/ประชุมสัมมนา/การจัดนิทรรศการ ฯลฯ ๒.การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน ที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ์ ประชุม และแถลงข่าว ๓.การสรุปผล และรายงานการดำเนินงานตามแผนฯเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เป้าหมาย: ๑.การสร้างความรู้ความเข้าใจและชี้แจ้งผลการปฏิบัติงานให้กับกำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน (ประชุมกำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน) ๒.การสร้างการรับรู้ความเข้าใจโครงการอำเภอยิ้มฯ (อำเภอเคลื่อนที่)

ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๓.ระดับความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการปฏิบัติงานของกรมปศุสัตว์ น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕ โดยจังหวัดกำหนดเป้าหมายให้ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ รอบการประเมินครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๑-๑๐.๙๙ % ๒ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๑๑-๒๐.๙๙ % ๓ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๒๑-๓๐.๙๙ % ๔ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๓๑-๔๐.๙๙ % ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๔๑ %

ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ตัวชี้วัดที่ ๓ (ต่อ) รอบการประเมิน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๕๑-๖๐.๙๙% ๒ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้๖๑-๗๐.๙๙ % ๓ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๗๑-๓๐.๙๙% ๔ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๘๑-๙๐.๙๙% ๕ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๙๑ % ขึ้นไป

ตัวชี้วัดที่ ๓ (ต่อ ) เงื่อนไข : ๑.สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดกำหนดเป้าหมายงาน-เงิน ให้สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ๒.สำนักงานปศุสัตว์อำเภอรายงานผลการดำเนินงาน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา และเป็นไปตามเป้าหมาย ๓.สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รายงานผลการปฏิบัติงานในระบบ e-Operation