ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศฯ
๑.ร้อยละความสำเร็จในการของการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร ผู้เลี้ยงสัตว์ น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐ รอบการประเมิน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ รอบการประเมิน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ คะแนนที่ได้ ๑ ๒ ๓ ๔ ร้อยละของการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘๐ คะแนนที่ได้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ร้อยละของการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ ๑๐๐
ตัวชี้วัดที่ ๑ (ต่อ) เงื่อนไข : การปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรครบถ้วน ดังนี้ ๑.ข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์หรือนิติบุคคล ๒.ข้อมูลพิกัดที่ตั้งสถานที่เลี้ยง ๓.รูปภาพเกษตรกร เป้าหมาย : จำนวนรายเกษตรกร อ.เมือง จำนวน ๑,๒๔๕ ราย อ.บางคนที จำนวน ๙๓๔ ราย อ.อัมพวา จำนวน ๔๕๑ ราย
๒.ระดับความสำเร็จในการดำเนินการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕ รอบการประเมิน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ มีการจัดทำแผนและกำหนดแนวทางการสร้างการรับรู้ฯ ๒ มีการสื่อสารภายในองค์กรเพื่อให้บุคลากรในสังกัดทราบ ๓ มีการดำเนินงานตามแผนการสร้างรับรู้ฯอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๖๐ ๔ มีการดำเนินงานตามแผนการสร้างรับรู้ฯอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๘๐ ๕ มีการดำเนินงานตามแผนฯ ร้อยละ ๑๐๐ และส่งรายงานตามวันเวลาที่กำหนด
ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ตัวชี้วัดที่ ๒ (ต่อ) รอบการประเมิน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ ทบทวนแผนการดำเนินการสร้างการรับรู้ฯ ๒ มีการดำเนินงานตามแผนฯอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๗๐ ๓ มีการดำเนินงานตามแผนฯ อย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๘๐ ๔ มีการดำเนินงานตามแผนฯ อย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละ ๙๐ ๕ มีการดำเนินงานตามแผนฯ อย่างเป็นรุกธรรม ร้อยละ ๑๐๐ และส่งรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามวัน เวลา ที่กำหนด
ตัวชี้วัดที่ ๒ (ต่อ) เงื่อนไข : การดำเนินงาน ๑.สามารถนำประเด็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล ไปยังประชาชนกลุ่มเป้าหมายผ่านสื่อต่าง/ประชุมสัมมนา/การจัดนิทรรศการ ฯลฯ ๒.การรวบรวมข้อมูลและหลักฐาน ที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุชุมชน สื่อสิ่งพิมพ์ ประชุม และแถลงข่าว ๓.การสรุปผล และรายงานการดำเนินงานตามแผนฯเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เป้าหมาย: ๑.การสร้างความรู้ความเข้าใจและชี้แจ้งผลการปฏิบัติงานให้กับกำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน (ประชุมกำนัน-ผู้ใหญ่บ้าน) ๒.การสร้างการรับรู้ความเข้าใจโครงการอำเภอยิ้มฯ (อำเภอเคลื่อนที่)
ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๓.ระดับความสำเร็จของการนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการปฏิบัติงานของกรมปศุสัตว์ น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕ โดยจังหวัดกำหนดเป้าหมายให้ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ รอบการประเมินครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๑-๑๐.๙๙ % ๒ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๑๑-๒๐.๙๙ % ๓ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๒๑-๓๐.๙๙ % ๔ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๓๑-๔๐.๙๙ % ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๔๑ %
ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ตัวชี้วัดที่ ๓ (ต่อ) รอบการประเมิน ครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน ๑ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๕๑-๖๐.๙๙% ๒ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้๖๑-๗๐.๙๙ % ๓ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๗๑-๓๐.๙๙% ๔ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๘๑-๙๐.๙๙% ๕ ผลงานสำคัญของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ดำเนินการได้ ๙๑ % ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ ๓ (ต่อ ) เงื่อนไข : ๑.สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดกำหนดเป้าหมายงาน-เงิน ให้สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ๒.สำนักงานปศุสัตว์อำเภอรายงานผลการดำเนินงาน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา และเป็นไปตามเป้าหมาย ๓.สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รายงานผลการปฏิบัติงานในระบบ e-Operation