แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
หอมแดง.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แนวโน้มอุณหภูมิที่ส่งผล ต่อปริมาณการผลิตลิ้นจี่ ในจังหวัดเชียงราย นายทยากร พร มโน รหัส
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
ลมและพายุ (พายุ).
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Gas Turbine Power Plant
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
Watt Meter.
น้ำและมหาสมุทร.
มรสุม แนวปะทะอากาศ และพายุฝนฟ้าคะนอง
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
เมฆ (Cloud)  เกิดจากไอน้ำในอากาศเมื่อกระทบความเย็นบางส่วนจะกลั่นตัวเป็นหยด น้ำเล็ก ๆ  รวมตัวกัน  ซึ่งจะมีรูปร่างลักษณะต่าง ๆ  กัน  บางครั้งจะเห็น รูปร่างเป็นก้อนคล้ายสำลีลอยอยู่ในท้องฟ้าที่ระดับความสูงต่าง.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
แผ่นดินไหว.
ระบบทำความเย็น.
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
มลภาวะของอากาศ(Air pollution)
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ความดัน (Pressure).
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
By Poonyaporn Siripanichponng
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยิ้มก่อนเรียน.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
สัปดาห์ที่ 9 Designs by SolidWorks
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 15 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ EARTHSCIENCE

Members Nutthanon Reungpongsiri Class M.6/1 No.2 Shinawatra Ngamlamai Class M.6/1 No.5 Srawut Suksom Class M.6/1 No.11 Napassorn Thammaviwatnukoon Class M.6/1 No.12

แผนที่อากาศ         แผนที่อากาศ เป็นแผนที่แสดงองค์ประกอบ ทางอุตุนิยมวิทยา ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ข้อมูล ต่างๆ ในแผนที่อากาศได้รับมาจากเครือข่ายสถานี ตรวจอากาศผิวพื้นทั้งหลาย รวบรวมแล้วเขียนขึ้น เป็นตัวเลข รหัส และสัญลักษณ์ต่างๆ ทาง อุตุนิยมวิทยา ข้อมูลที่อยู่ในแผนที่อากาศจะ นำไปใช้ในการคาดหมายการเปลี่ยนแปลงลักษณะ อากาศที่จะเกิดขึ้น

สัญลักษณ์ทางอุตุนิยมวิทยาบนแผนที่อากาศ L ศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ เป็นบริเวณที่ อากาศร้อนยกตัวทำให้เกิดเมฆ H ศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศสูง เป็นบริเวณที่ อากาศเย็นแห้งแล้ว ฟ้าใส ไม่มีเมฆปกคลุม เส้นไอโซบาร์ (Isobar) เป็นเส้นโค้งที่ลากเชื่อมต่อบริเวณที่ มีความกดอากาศเท่ากัน มีตัวเลขแสดงค่าความกดอากาศ ซึ่งมีหน่วยเป็น เฮคโตปาสคาล (hPa) กำกับไว้ แนวปะทะอากาศ (Front) เส้นอาร์คหนาทึบสีแดงมี เครื่องหมายวงกลม คือ แนวปะทะอากาศร้อน เส้นอาร์ค หนาทึบสีน้ำเงินมีลิ่มสามเหลี่ยม คือ แนวปะทะอากาศเย็น เมืื่อแนวปะทะทั้งสองชนกันจะทำให้เกิดฝนตก

ข้อมูลจากสถานีตรวจอากาศภาคพื้น วงกลม แสดงปริมาณเมฆปกคลุมเหนือสถานี สีขาว: ไม่มีเมฆ สีดำ: เมฆมาก ลูกศร แสดงทิศทางลมที่พัดเข้าหาสถานี ขีดฉากที่ปลายลูกศรแสดง ความเร็วลม ขีดยิ่งมาก ลมยิ่งแรง ความกดอากาศที่ระดับน้ำทะเล แสดงด้วยตัวเลขขวามือด้านบน เป็นตัวเลขสามหลัก หมายถึง ตัวเลขท้ายสองหลักและทศนิยมหนึ่ง หลัก (107 หมายถึง 1010.7 hPa) แนวโน้มของความกดอากาศเปรียบเทียบกับ 3 ชั่วโมงที่แล้ว แสดง ด้วยตัวเลขทางด้านขวามือมีหน่วยเป็น hPa ค่า + หมายถึงความกด อากาศสูงขึ้น, ค่า - หมายถึงความกดอากาศต่ำลง อุณหภูมิจุดน้ำค้าง แสดงด้วยตัวเลขขวามือด้านล่าง ลักษณะอากาศ แสดงด้่วยสัญลักษณ์อุตุนิยมวิทยาทางด้านขวามือ อุณหภูมิอากาศ แสดงด้วยตัวเลขด้านซ้ายบน

สถานีตรวจอากาศภาคพื้น

ทุ่นตรวจอากาศในทะเล

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

บอลลูนตรวจอากาศ

การทำงานของสถานีตรวจอากาศ

แนวปะทะอากาศ เมื่อมวลอากาศ 2 มวลเคลื่อนตัวมาพบกันเข้า อากาศของ มวลทั้งสองจะไม่ปนกันทันที แต่จะก่อให้เกิดแนวหรือ ขอบเขตระหว่างมวลอากาศทั้งสอง มวลอากาศเย็นซึ่งมี ความแน่นมากกว่า และหนักมากกว่ามวลอากาศร้อนจะ ผลักดันอากาศร้อนให้ลอยขึ้น ทำให้เกิดเป็นเมฆ ต่าง ๆ เกิดพายุฝนฟ้าคะนองตามที่แนวหรือขอบเขตที่มวลอากาศ ทั้งสองมาพบกัน ซึ่งเรียกแนวนี้ว่า แนวปะทะอากาศ ที่ อาจจะมีเขตกว้าง 20 ถึง 40 กิโลเมตร แนวปะทะอากาศ เป็นสาเหตุใหญ่อันหนึ่ง ที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ของ อากาศ เช่น เมฆ ฝน และพายุได้เสมอ แนวปะทะแบ่ง ออกได้หลายชนิด คือ

แนวปะทะของมวลอากาศอุ่น (Warm Front)

แนวปะทะของมวลอากาศอุ่น (Warm Front)

แนวปะทะของมวลอากาศเย็น (Cold Front) แนวปะทะของมวลอากาศเย็น (Cold Front) เมื่อมวลอากาศ เย็นเคลื่อนตัวลงมายังบริเวณที่มีละติจูดต่ำ มวลอากาศเย็น จะหนัก จึงมีการเคลื่อนตัวติดกับผิวดิน และจะดันให้มวล อากาศอุ่นที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า ลอยตัวขึ้นตามความ ลาดเอียง ซึ่งมีความลาดชันมากถึง 1:80 ซึ่งปรากฏการณ์ ดังกล่าวตามแนวปะทะอากาศเย็นจะมีสภาพอากาศ แปรปรวนมาก มวลอากาศร้อนถูกดันให้ลอยตัวยกสูงขึ้น เป็นลักษณะการก่อตัวของเมฆ คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) ท้องฟ้าจะมืดครึม เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง อย่างรุนแรง เราเรียกบริเวณดังกล่าวว่า “แนวพายุฝน” (Squall Line)

แนวปะทะของมวลอากาศเย็น (Cold Front)

แนวปะทะของมวลอากาศซ้อน (Occluded Front) แนวปะทะของมวลอากาศซ้อน (Occluded Front) เมื่อมวล อากาศเย็นเคลื่อนที่ในแนวทางติดกับแผ่นดิน จะดันให้มวล อากาศอุ่นใกล้กับผิวโลกเคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกันกับมวล อากาศเย็น มวลอากาศอุ่นจะถูกมวลอากาศเย็นซ้อนตัวให้ ลอยสูงขึ้น และเนื่องจากมวลอากาศเย็นเคลื่อนตัวได้เร็ว กว่าจึงทำให้มวลอากาศอุ่นช้อนอยู่บนมวลอากาศเย็น เรา เรียกลักษณะดังกล่าวได้อีกแบบว่าแนวปะทะของมวลอากาศ ปิด ลักษณะของปรากฏการณ์ดังกล่าวจะทำให้เกิดเมฆคิวมู โลนิมบัส (Cumulonimbus) และทำให้เกิดฝนตก หรือพายุ ฝนได้เช่นกัน

แนวปะทะของมวลอากาศซ้อน (Occluded Front)

แนวปะทะมวลอากาศคงที่ (Stationary Front) แนวปะทะมวลอากาศคงที่ (Stationary Front) นอกจากแนว ปะทะอากาศดังกล่าวมาแล้วนั้นจะมีลักษณะแนวปะทะอากาศ ของมวลอากาศคงที่อีกชนิดหนึ่ง (Stationary Front) ซึ่งเป็น แนวปะทะของมวลอากาศที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวล อากาศอุ่นและมวลอากาศเย็นเข้าหากัน และจากสภาพที่ทั้ง สองมวลอากาศมีแรงผลักดันเท่ากัน จึงเกิดภาวะสมดุลของ แนวปะทะอากาศขึ้น แต่จะเกิดในชั่วระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เท่านั้น เมื่อมวลอากาศใดมีแรงผลักดันมากขึ้นจะทำให้ ลักษณะของแนวปะทะอากาศเปลี่ยนไปเป็นแนวปะทะอากาศ แบบอื่น ๆ ทันที

แนวปะทะมวลอากาศคงที่ (Stationary Front)