ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานยุทธศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ ( สยค.) International Trade Strategic Agency (ITSA)
Advertisements

องค์ประกอบ 5 ประการ - สภาพแวดล้อม - ความเชื่อและค่านิยม
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การบริหารการทดสอบ O-NET
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
Office of The National Anti-Corruption Commission
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
บทที่ 5 การจัดการแฟ้มข้อมูล
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
เราคนคลัง รู้เท่าทันผลประโยชน์ทับซ้อน โดย.. นายพิเศษ นาคะพันธุ์
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
ทักษะที่จำเป็นสำหรับ การสร้างงานที่มีประสิทธิผล
ศูนย์ข้อมูลตราสารการเงิน ประชุมคณะทำงานพหุภาคี ครั้งที่ 1
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม
Techniques of Environmental Law
GATT & WTO.
ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
การติดตามผล (Monitoring) โดย สงวน พงศ์หว่าน 18 กันยายน พ.ศ. 2553
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
สิทธิทางปัญญาและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ผู้อำนวยการสำนักปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
รายงานการประเมินตนเอง
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
พระพุทธศาสนา.
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
เนื้อหา บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเงินธุรกิจ
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interests)
มาตรฐานสำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า Standard of Power System Design
Review - Techniques of Environmental Law
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflicts of Interest: COI)
การมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
วิชาโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า ภาคเรียนที่ 1
การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผลประโยชน์ทับซ้อน โดย นายภูมิวัฒน์ รัตนผล ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.

3. ข้อห้ามปฏิบัติต่าง ๆ 1.ห้ามเป็นคู่สัญญา หรือมีส่วนได้เสียในสัญญาเป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในองค์กรธุรกิจ ที่เข้าเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น มีอำนาจกำกับดูแล ควบคุม ตรวจสอบ หรือดำเนินคดี ห้ามรับสัมปทาน หรือคงไว้ซึ่งสัมปทานจากรัฐ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐอันเป็นการผูกขาดตัดตอน และห้ามเป็นกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจ้าง ในองค์กรธุรกิจที่อยู่ภายใต้การกำกับ ควบคุม ตรวจสอบ องค์กรของรัฐที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น สังกัดอยู่ (ปัจจุบันคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกำหนดเฉพาะตำแหน่งนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี)

2. การรับทรัพย์สินตามธรรมจรรยา และที่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ ต้องเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกำหนด 3. ห้ามใช้ข้อมูลภายในโดยทุจริต 4. ห้ามใช้ทรัพย์สินของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือ บุคคลอื่นซึ่งไม่มีสิทธิโดยทุจริต 5. ห้ามริเริ่ม เสนอ จัดทำ หรืออนุมัติโครงการของรัฐโดยทุจริต เพื่อเอื้อประโยชน์ ต่อตนเอง หรือบุคคลใด บุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม 6. ห้ามใช้อำนาจหน้าที่ซึ่งตนมีอยู่ ไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจโดยอิสระ ในการใช้อำนาจตามตำแหน่งหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งดำรงตำแหน่งโดยทุจริต ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม คือ - อนุมัติ อนุญาต จดทะเบียน ให้สิทธิประโยชน์ อันอาจคำนวณเป็นเงินได้

4. ผลกระทบต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ - เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติ ค่านิยม จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่หาประโยชน์ เป็นใช้ตำแหน่งหน้าที่ทำประโยชน์เพื่อรัฐและประชาชน - การได้รับประโยชน์ต้องเป็นไปตามกฎหมาย - การปฏิบัติหน้าที่ต้องเป็นทางการมิใช่เรื่องส่วนตัว - แยกเรื่องประโยชน์ส่วนบุคคล และประโยชน์ส่วนรวมออกจากกันได้ - ไม่กระทำการอันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม

ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม ความขัดแย้ง (Conflict) สถานการณ์ที่ขัดกัน ไม่ลงรอยเป็นเหตุการณ์อันเกิดขึ้นเมื่อบุคคลไม่สามารถตัดสินใจกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้จากความไม่ลงรอยกันในเรื่องความคิด แนวทางปฏิบัติ หรือผลประโยชน์ ผลประโยชน์ส่วนตน (Private Interests) เป็นผลตอบแทนที่บุคคลได้รับ โดยเห็นว่ามีคุณค่าที่จะสนองตอบความต้องการของตนเองหรือของกลุ่มที่ตนเองเกี่ยวข้อง ผลประโยชน์เป็นสิ่งจูงใจให้คนเรามีพฤติกรรมต่างๆ เพื่อสนองความต้องการทั้งหลาย (เพ็ญศรี วายวานนท์,2527:154)

ความหมายและประเภทของการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม (ต่อ) ผลประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์สาธารณะ (Public Interests) หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่ให้ประโยชน์สุขแก่บุคคลทั้งหลายในสังคม ผลประโยชน์สาธารณะ ยังหมายรวมถึงหลักประโยชน์ต่อมวลสมาชิกในสังคม ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict Of Interests) เป็นสถานการณ์ที่บุคคลในฐานะพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใช้ตำแหน่งหรืออำนาจหน้าที่ในการแสวงประโยชน์แก่ตนเอง กลุ่มหรือพวกพ้อง ซึ่งเป็นการละเมิดทางจริยธรรม และส่งผลกระทบหรือความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ คำอื่นที่มีความหมายถึงความขัดแย้งกันแห่งผลประโยชน์ส่วนตนและส่วนรวม ได้แก่ การมีผลประโยชน์ทับซ้อน ความขัดกันระหว่างผลประโยชน์ของผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณะ และรวมถึงคอร์รัปชันเชิงนโยบาย คอร์รัปชันสีเทา

ความหมายของ Conflict of Interests สถานการณ์ซึ่งบุคคลขาดการตัดสินใจอันเที่ยงธรรม เนื่องจาก การมีหรือการได้รับผลประโยชน์ (MacMilan English Dictionaey, 2002 : 200) สถานการณ์ซึ่งบุคคลใช้อำนาจไปในทางที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง (Katz&Kahn, 1978 : 623) เป็นเรื่องเกี่ยวกับจริยธรรม จากการมีผลประโยชน์ส่วนบุคคลมาก จนถึงขั้นกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา (McDONALD อ้างใน hpp://www.ethicts.ubc.ca/mcdonald/conflict.htm)

ความหมายของ Conflict of Interests การให้ความหมายในภาษาไทย ผลประโยชน์ทับซ้อน การขัดกันแห่งผลประโยชน์ คอร์รัปชันเชิงนโยบาย การที่ผู้ที่ต้องตัดสินใจมีประโยชน์หลายทางซึ่งขัดกัน การที่บุคคลปฏิบัติหน้าที่เอาผลประโยชน์ส่วนตัวไปพัวพันในการตัดสินใจ เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อตนเอง และเป็นการเสียประโยชน์ของทางการ

ความหมายของ Conflict of Interests COI อาจแยกเป็น ระดับนโยบายฝ่ายการเมือง และระดับปฏิบัติ (ฝ่ายประจำ) กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้ง 2 กลุ่ม กลุ่ม มีความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ นักการเมืองเข้าสู่อำนาจ แสวงประโยชน์ ปกป้องธุรกิจ อำนาจรัฐและอำนาจเงิน ไปครอบงำหรือชี้นำข้าราชการ ที่เป็นระดับเครื่องมือ กลไกการปฏิบัติ

ความหมายของ Conflict of Interests กับ Corruption

ความหมาย Conflict of Interests จนท. มีบทบาทเดียว จนท. มี 2 บทบาท ตั้งใจ Conflict of Interests ดูเสมือนมีส่วนได้ส่วนเสีย Corruption

ตัวอย่างคอร์รัปชัน จนท. เรียกสินบนจากนักธุรกิจ/ประชาชนที่ทำผิดกฎหมาย เพื่อไม่ให้ถูกจับ จนท. รับสินบนจากการกำหนด สเปคให้บริษัทแห่งหนึ่งชนะประมูล corruption Conflict of Interests

ตัวอย่างคอร์รัปชั่นที่เกิดจาก COI Corruption + COI นายกเทศมนตรีกำหนดสเปคให้บริษัทก่อสร้างของตนชนะการประกวดงานก่อสร้างในเทศบาลที่ตนบริหาร ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ช่วยให้บริษัทไม่ถูกลงโทษจากความผิดข้อหาหนีภาษี เพราะเป็นบริษัทของภรรยา

ตัวอย่าง COI แบบแท้จริง บริษัทก่อสร้างของนายกเทศมนตรีชนะการประมูลงาน ในเทศบาลที่นายกฯบริหาร แต่การประมูลเป็นไปอย่างเที่ยงธรรมและโปร่งใส COI อธิบดีกรมกำกับธุรกิจการเงิน ทำหน้าที่กำกับ ธุรกิจ อย่างซื่อสัตย์ หลังเกษียณไปทำงานกับ บริษัทการเงิน A โดยใช้ข้อมูลสำคัญทาง ราชการที่ตนทราบระหว่างเป็นอธิบดี

ความขัดแย้งกันของผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) CONFLICT OF INTERESTS มีตำแหน่ง ทางราชการ หรือสาธารณะ มีผลประโยชน์ ส่วนตัว “การทับซ้อนของ ประโยชน์ส่วนตัวและประโยชน์ส่วนรวม” “สถานการณ์ซึ่งบุคคล มีผลประโยชน์ส่วนตัว มากเพียงพอที่จะมี “อิทธิพล” ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง และส่งผลกระทบต่อประโยชน์ส่วนรวม” แทรกแซงการใช้ ดุลยพินิจอยาง เป็นกลาง “การขัดกันแห่งผลประโยชน์” “สถานการณ์ซึ่งบุคคลใช้อำนาจหน้าที่ ในทางที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเอง”

สรุป ความหมายของ Conflict of Interests สถานการณ์ที่บุคคลในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ตำแหน่งหรืออำนาจหน้าที่ในการแสวงประโยชน์แก่ ตนเอง แก่กลุ่มหรือแก่พวกพ้อง ซึ่งเป็นการละเมิดทางจริยธรรม และส่งผลกระทบหรือความเสียหายต่อประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สาธารณะ คำอื่นที่ที่มีความหมายถึง Conflict of Interests ได้แก่ ผลประโยชน์ทับซ้อน ความขัดกันแห่งผลประโยชน์ของ ผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณะ และรวมถึง คอร์รัปชันเชิงนโยบาย

รูปแบบความขัดแย้งระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (1) รับของขวัญ/เงินสนับสนุน/ เงินบริจาคจากลูกค้า ของหน่วยงาน การรับผลประโยชน์ต่างๆ (Accepting Benefits) การทำธุรกิจกับตัวเอง (Self-Dealing) หรือเป็น คู่สัญญา (Contracts) มีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทำ กับหน่วยงานต้นสังกัด ลาออกจากหน่วยงานเพื่อ ไปทำงานในหน่วยงานที่ ดำเนินธุรกิจประเภทเดียวกัน การทำงานหลังออกจาก ตำแหน่งหน้าที่สาธารณะหรือ หลังเกษียณ (Post-Employment)

รูปแบบความขัดแย้งระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม (2) การทำงานพิเศษ (Outside Employment or Moonlighting) ตั้งบริษัทดำเนิน ธุรกิจที่แข่งขันหรือ รับงานจากหน่วยงานต้นสังกัด การรู้ข้อมูลภายใน (Inside Information) ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายใน เพื่อประโยชน์ของตนเอง การใช้สมบัติของหน่วยงานเพื่อ ประโยชน์ส่วนตัว (Using Employer’s Property for Private Usage) นำทรัพย์สินของหน่วยงาน ไปใช้ในงานส่วนตัว การนำโครงการสาธารณะลงในเขต เลือกตั้งเพื่อประโยชน์ทางการเมือง (Pork-barrelling) รมต. อนุมัติโครงการ ไปลงในพื้นที่ตนเอง, ใช้งบสาธารณะเพื่อหาเสียง

1. รูปแบบของ Conflict of Interests การรับผลประโยชน์ (Accepting Benefits) ได้แก่ - การรับของขวัญหรือของกำนัลที่มีค่าอื่นๆ ซึ่งส่งผลต่อ การปฏิบัติหน้าที่ - การที่บริษัทสนับสนุนการเดินทางไปประชุม/ดูงานในต่างประเทศ ของผู้บริหารและอาจรวมถึงครอบครัว - การที่หน่วยงานราชการรับเงินบริจาคสร้างสำนักงาน จากบริษัทธุรกิจที่ติดต่อกับหน่วยงาน - เจ้าหน้าที่ของรัฐรับของแถมหรือผลประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ต่อ) การทำธุรกิจกับตนเอง หรือการเป็นคู่สัญญา - เรียกผลตอบแทนในการใช้ตำแหน่งหน้าที่เพื่อส่งผลที่เป็นคุณแก่ บริษัทหนึ่งอย่างไม่เป็นธรรม - การจ้างบริษัทของตนหรือของครอบครัวให้ทำงานให้กับ หน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่ - การใช้อำนาจให้หน่วยงานที่สังกัดอยู่ซื้อที่ดินของตนเองในการ จัดสร้างสำนักงานใหม่ - การที่สมาชิกสภาหรือสมาชิก อบต. รับมอบอำนาจจากบริษัท มาดำเนินการในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ต่อ) การใช้ทรัพย์สินของหน่วยงานเพื่อประโยชน์ส่วนตน - การใช้รถยนต์ราชการ เพื่องานส่วนตัว (บางกรณีเบิกค่าน้ำมัน) - การนำเครื่องใช้สำนักงานไปใช้ที่บ้าน (เพื่องานส่วนตัว) - การใช้โทรศัพท์ของทางราชการเพื่อธุรกิจส่วนตัว

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ต่อ) การใช้ข้อมูลลับ/ภายในของทางราชการ - ทราบว่าจะมีโครงการตัดถนนจึงไปซื้อที่ดินในละแวกนั้นไว้ก่อน โดยอาจใส่ชื่อคู่สมรสหรือคนในครอบครัว - ทราบว่าจะมีการจัดทำโครงการ ก็นำไปแจ้งให้แก่บริษัทของ คนสนิทหรือของครอบครัวเตรียมการก่อน - ทราบว่าจะมีการซื้อที่ดินเพื่อดำเนินการโครงการของรัฐก็รีบ ไปซื้อที่ดินเพื่อเก็งกำไรและขายให้กับรัฐในราคาที่สูงมาก

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ต่อ) การทำงานพิเศษ - เจ้าหน้าที่ของรัฐในตำแหน่งนักบัญชีไปรับงานส่วนตัวจนไม่มีเวลาทำงานในหน้าที่ให้ราชการ - การรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตำแหน่งในราชการสร้างความน่าเชื่อถือว่าโครงการจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณา - การสอนพิเศษที่ให้ความรู้และแนวข้อสอบอย่างเต็มที่มากกว่าการสอนในชั่วโมงปกติในเวลาราชการ

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ต่อ) การทำงานหลังจากออกจากตำแหน่ง/หลังเกษียณ เป็นผู้บริหารในองค์การอาหารและยาลาออกราชการไปทำงานในบริษัทผลิตและขายยา เป็นผู้บริหารในกระทรวงคมนาคมหรือในรัฐวิสาหกิจด้านโทรคมนาคมหลังเกษียณไปทำงานกับบริษัทธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม เป็นผู้อำนวยการสำนักบริหารกลางหลังจากเกษียณแล้วไปเป็นที่ปรึกษาให้กับบริษัทที่รับเหมาให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดเดิม(ในทันทีหลังเกษียณ)

1. รูปแบบของ Conflict of Interests (ต่อ) การนำโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพื่อประโยชน์ทางการเมือง การที่ผู้บริหาร (รัฐมนตรี, คณะกรรมาธิการ, ฯลฯ) อนุมัติโครงการไปลงในพื้นที่ของตนเอง การใส่ชื่อนักการเมืองแสดงความเป็นเจ้าของสิ่งสาธารณะ เช่น ถนน ที่พักรอรถประจำทาง อ่างเก็บน้ำ สวนสาธารณะเพื่อประโยชน์ ทางการเมือง

ศาสตราจารย์ วีระพงษ์ บุญโญภาส แบ่งออกเป็น 9 รูปแบบ ซึ่งเพิ่มเติมอีก 2 รูปแบบ 8. การใช้อิทธิพล (Influnce pedding) หมายถึง การเรียกผลตอบแทนโดยการใช้อิทธิพลในตำแหน่งหน้าที่เพื่อส่งผลที่เป็นคุณให้กับฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งและการใช้อิทธิพลต่อการตัดสินใจของรัฐเพื่อสนับสนุนแก่บุคคลภายนอก 9. การเกี่ยวพันทางเครือญาติ หมายถึง ระบบอุปถัมภ์พิเศษที่ใช้อิทธิพลส่วนตัวกับผลประโยชน์หรือส่วนรวม หรือทำสัญญาหรือการใดๆ ให้แก่เครือญาติของตนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์นั้น

เหตุผลในการห้ามการกระทำซึ่งเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม แนวความคิดพื้นฐาน : ประโยชน์สาธารณะ รัฐโดยองค์กรของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผู้ดูแลรักษาประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์สาธารณะ แต่ในกรณีที่ประโยชน์ส่วนตัวของเอกชนไม่สอดคล้องกับประโยชน์สาธารณะจะต้องให้ประโยชน์สาธารณะอยู่เหนือประโยชน์ส่วนตัวของตน

ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับรัฐ สถานะของเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้น มีความสัมพันธ์กับรัฐ 2 สถานะ  สถานะหนึ่ง คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานตาม อำนาจหน้าที่ซึ่งเป็นบุคคลที่ทำงานให้กับรัฐหรือตัวแทนของรัฐ  กับอีกสถานะหนึ่ง คือ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นเอกชนคนหนึ่ง

เอกชน เจ้าหน้าที่ของรัฐ ข้อแตกต่างของการใช้อำนาจของเอกชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เอกชน สิทธิเสรีภาพของบุคคลเป็นหลักการจำกัดสิทธิและเสรีภาพ เป็นข้อยกเว้น หรือ ไม่มีกฎหมายห้ามไว้ย่อมทำได้ เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะดำเนินการได้ต้องมีกฎหมายให้อำนาจแก่ฝ่ายบริหาร ที่จะดำเนินการดังกล่าวไว้อย่างชัดแจ้งในเรื่องที่กฎหมายไม่ให้อำนาจไว้ จะกระทำการนั้นมิได้ และในเรื่องที่กฎหมายให้อำนาจต้องใช้อำนาจนั้นในทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุด โดยจำกัดสิทธิและเสรีภาพหรือสร้างภาระแก่ประชาชนน้อยที่สุดด้วย หรือไม่มีกฎหมายให้อำนาจทำไม่ได้

ประเภทที่มาและระยะเวลาดำรงตำแหน่ง ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ฝ่ายการเมือง เลือกตั้ง 4 ปี ฝ่ายประจำ แต่งตั้ง เกษียณอายุ, ตามสัญญาจ้าง

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตำแหน่ง หรือเงินเดือนประจำ พนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นซึ่งมิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่หรือพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะการปกครองท้องที่ และให้หมายความรวมถึงกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ และบุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งใช้อำนาจ หรือได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางการปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามกฎหมายไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ และกิจการอื่นของรัฐ (พ.ร.บ.ปปช.ม.4)

ธรรมชาติของการใช้อำนาจ บุคคลใดก็ตามซึ่งมีอำนาจมักใช้อำนาจนั้นเกินเลยอยู่เสมอ และจะใช้อำนาจนั้นจนกว่าจะถึงขีดจำกัดเท่าที่ตนจะใช้อำนาจได้ (มงเตสกิเยอ) เมื่อมีอำนาจก็อยากจะใช้อำนาจไปในทางที่ผิด และเมื่อมีอำนาจ ก็ยิ่งใช้อำนาจไปในทางที่ผิดมากขึ้น (Power tends to corrupt and absolute power corrupts absolutely) (ลอร์ด แอคตัน)

ละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือปฏิบัติหรือ การทุจริตต่อหน้าที่ หมายความว่า ปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่า มีตำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งที่ตนมิได้มีตำแหน่งหรือหน้าที่นั้นหรือ ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น (พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4)

คำว่า “การทุจริตต่อหน้าที่” หรือการฉ้อราษฎร์ บังหลวงตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Corruption” ความหมายของการคอร์รัปชันที่มีการใช้อย่างแพร่หลายคือ “การใช้อำนาจรัฐโดยมิชอบเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว” (Cray Raufunann, 1998 Jayawickrama, 1998 Bardhan, 1977) คำนิยามดังกล่าวชี้ให้เห็นชัดว่าการคอร์รัปชันนั้นเกิดจากการใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ที่มิใช่อำนาจส่วนบุคคลแสวงหาประโยชน์ส่วนตัว

Conflict Of Interests เป็นการเปิดโอกาสนำไปสู่การคอร์รัปชัน

สถานการณ์การทุจริตในสังคมไทย องค์กรนานาชาติมองสถานการณ์การทุจริตในสังคมไทย อย่างไร องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ หรือ Transparancy International Organization ทำดัชนีชี้วัด ค่าคอร์รัปชัน (Corruption Perception Index) หรือ CPI) เพื่อจัดลำดับความโปร่งใสเกี่ยวกับคอร์รัปชันของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก (รวมทั้งประเทศไทย) ปี 2550 มี 179 ประเทศ

ตารางที่ 1 สำหรับประเทศไทย มีดัชนีชี้วัด ตั้งแต่ปี พ. ศ ตารางที่ 1 สำหรับประเทศไทย มีดัชนีชี้วัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 – 2550 รวม 13 ปี มีดังนี้ ปี พ.ศ. จำนวนประเทศที่สำรวจ อันดับของประเทศ คะแนนความโปร่งใส หมายเหตุ (เต็ม 10 คะแนน) 2538 41 34 2.79 - 2539 54 37 3.33 เพิ่ม 0.54 2540 52 39 3.06 ลดลง 0.27 2541 85 61 3.00 ลดลง 0.06 2542 98 68 3.20 เพิ่ม 0.20 2543 90 60 คงที่ 2544 91 2545 102 64 2546 133 70 3.30 เพิ่ม 0.10 2547 164 3.60 เพิ่ม 0.30 2548 159 59 3.80 2549 163 63 ลดลง 0.20 2550 179 84 ลดลง 0.30

ผลการสำรวจความโปร่งใสขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ ผลการจัดอันดับคอร์รัปชันโลกประจำปี พ.ศ. 2550 จากทั้งหมด 179 ประเทศ พบว่าประเทศไทยตกจากอันดับที่ 63 (3.6 คะแนน) เมื่อปีที่แล้ว เป็นอันดับที่ 84 (3.3 คะแนน) ประเทศที่ครองอันดับหนึ่ง ได้แก่ ฟินแลนด์ และนิวซีแลนด์ (9.4 คะแนน) อันดับสอง ได้แก่สิงคโปร์ (9.3 คะแนน) ประเทศที่อยู่ในอันดับสุดท้าย ได้แก่ พม่า (1.4 คะแนน) “คอร์รัปชันของประเทศไทยสูงขึ้น”

อันดับจากประเทศทั้งหมด ตารางที่ 2 ภาพลักษณ์คอร์รัปชันของไทยในปี 2550 เปรียบเทียบกับประเทศอื่นในเอเชีย มีดังนี้ อันดับจากประเทศทั้งหมด ประเทศ คะแนนน จำนวนแหล่งข้อมูล ค่าความเชื่อมั่น คะแนนเทียบกับปี พ.ศ. 2549 4 สิงคโปร์ 9.3 9 9.0-9.5 ต่ำลง (9.4) 14 ฮ่องกง 8.3 8 7.6-8.8 ไม่เปลี่ยนแปลง 17 ญี่ปุ่น 7.5 7.1-8.0 ต่ำลง (7.6) 34 มาเก๊า 5.7 4.7-6.4 ต่ำลง (6.6) ไต้หวัน 5.4-6.1 ต่ำลง (5.9) 43 เกาหลีใต้ 5.1 4.7-5.5 มาเลเซีย 4.5-5.7 สูงขึ้น (5.0) 46 ภูฏาน 5.0 5 4.1-5.7 ต่ำลง (6.0) 72 จีน 3.5 3.0-4.2 สูงขึ้น (3.3) อินเดีย 10 3.3-3.7

อันดับจากประเทศทั้งหมด ตารางที่ 2 (ต่อ) ภาพลักษณ์คอร์รัปชันของไทยในปี 2550 เปรียบเทียบกับประเทศอื่นในเอเชีย มีดังนี้ อันดับจากประเทศทั้งหมด ประเทศ คะแนนน จำนวนแหล่งข้อมูล ค่าความเชื่อมั่น คะแนนเทียบกับปี พ.ศ. 2549 84 ไทย 3.3 9 2.9-3.7 ต่ำลง (3.6) 94 ศรีลังกา 3.2 7 2.9-3.5 สูงขึ้น (3.1) 123 เวียดนาม 2.6 8 2.4-2.9 ปีแรก ตีมอร์ 3 2.5-2.6 ไม่เปลี่ยนแปลง 131 เนปาล 2.5 2.3-2.7 ฟิลิปปินส์ 138 ปากีสถาน 2.4 2.0-2.8 สูงขึ้น (2.2) 143 อินโดนีเซีย 2.3 11 2.1-2.4 ต่ำลง (2.4) 162 กัมพูชา 2.0 1.8-2.1 ต่ำลง (2.1) บังคลาเทศ 1.8-2.3 168 ลาว 1.9 6 1.7-2.2 ต่ำลง (2.6) 179 พม่า 1.4 4 1.1-1.7 ต่ำลง (1.9)

ตารางที่ 3 อันดับคอร์รัปชันในเอเชีย ปี พ. ศ ตารางที่ 3 อันดับคอร์รัปชันในเอเชีย ปี พ.ศ. 2550 จากการศึกษาของบริษัทที่ปรึกษาด้านความเสี่ยงทางการเมือง และเศรษฐกิจ (เพิร์ก) ประเทศ คะแนนเต็ม 10 ปี 2550 คะแนนเต็ม 10 ปี 2549 1. สิงคโปร์ 1.20 1.30 2. ฮ่องกง 1.87 3.13 3. ญี่ปุ่น 2.10 3.01 4. มาเก๊า 5.11 4.78 5. ไต้หวัน 6.25 5.91 6. มาเลเซีย 6.13 7. จีน 7.58 8. เกาหลีใต้ 6.30 5.44 9. อินเดีย 6.67 6.76 10. เวียดนาม 7.54 7.91 11. ไทย 8.03 7.64 11. อินโดนีเซีย 8.16 13. ฟิลิปปินส์ 9.40 7.80 คะแนนมาก ความเสี่ยงมาก แสดงว่า มีคอร์รัปชันมาก คะแนนน้อย ความเสี่ยงน้อย แสดงว่า มีคอร์รัปชันน้อย “ประเทศไทยมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น แสดงว่ามีคอร์รัปชันมากขึ้น”

ตารางที่ 4 ตัวเลขที่น่าสนใจเกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ สถิติการกล่าวหาร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2543-2548 จำแนกตามกระทรวง ที่ กระทรวงเทียบเท่า ปี 2543 2544 2545 2546 2547 2548 รวม 1 สำนักนายกรัฐมนตรี 22 40 41 67 24 218 2 กลาโหม 52 36 58 73 85 344 3 คลัง 111 82 83 145 130 120 671 4 ต่างประเทศ 5 10 การท่องเที่ยวและกีฬา 9 14 6 พัฒนาสังคมและ ความมั่นคงฯ 18 23 7 เกษตรและสหกรณ์ 184 160 245 257 274 127 1,247 8 คมนาคม 121 143 157 210 151 125 907 ทบวงมหาวิทยาลัย 27 34 25 48 134 ทรัพยากรธรรมชาติและ สิงแวดล้อม 84 142 11 เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 12 53

ตารางที่ 4 (ต่อ) ตัวเลขที่น่าสนใจเกี่ยวกับการทุจริตในภาครัฐ สถิติการกล่าวหาร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2543-2548 จำแนกตามกระทรวง ที่ กระทรวงเทียบเท่า ปี 2543 ปี2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 รวม 12 พลังงาน 6 1 7 13 พาณิชย์ 15 69 19 4 125 14 มหาดไทย 977 1,248 1,642 1,455 2,090 1,905 9,317 ยุติธรรม 8 26 21 109 16 แรงงาน 20 22 37 27 130 17 วัฒนธรรม 28 18 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 25 ศึกษาธิการ 208 207 242 273 297 160 1,387 สาธารณสุข 84 99 71 108 93 51 506 อุตสาหกรรม 10 33 ส่วนราชการไม่สังกัดกระทรวง 347 543 631 414 857 738 3,530 23 หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 87 52 40 133 416 24 หน่วยงานอิสระ 3

ผลกระทบของคอร์รัปชัน ความเชื่อมั่นจาก ประชาคมโลก ระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ประชาชนผู้เสียภาษี - ขาดความเชื่อมั่น - การลงทุนลดลง - เสียภาพลักษณ์ - เบี่ยงเบนทรัพยากร - ลดรายได้ของรัฐบาล - ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น - คุณภาพลดลง - นโยบายเบี่ยงเบน - ความมั่นคงรัฐบาลลดลง - วัฒนธรรม หน่วยงานเปลี่ยนไป - กฎระเบียบหย่อนยาน - ความปลอดภัยลดลง - เพิ่มอาชญากรรม - เกิดลูกโซ่วงจรอุบาทว์ - รู้สึกว่าไม่ยุติธรรม - ผู้ยากไร้เสียสิทธิ ที่พึงได้ - ความยากจนเพิ่มขึ้น - ขาดความ เสมอภาค ชาย - หญิง - ปัญหาสิทธิ มนุษยชน

เคยพบเห็นคอร์รัปชันในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา (สำรวจ ต.ค. – พ.ย. 42 ) เคยพบเห็นคอร์รัปชันในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา (สำรวจ ต.ค. – พ.ย. 42 ) รายได้ของครัวเรือน รวมทุกพื้นที่ กทม. ต่างจังหวัด เขตเทศบาล ชนบท ต่ำ สูง เคยพบ (ร้อยละ) ไม่เคยพบ (ร้อยละ) เมื่อพบเห็น ทำการรายงาน ไม่ได้คิดจะทำการรายงาน คิดแต่ไม่ได้ทำ 20.5 79.5 4.9 39.1 56.0 32.5 67.5 6.7 28.0 65.2 24.5 75.5 5.1 48.0 46.9 15.4 84.66 3.6 40.7 55.7 16.4 83.6 3.3 44.6 52.1 33 67 6.4 61.1 ...... ร้อยละของผู้พบเห็นการคอร์รัปชัน ....... สาเหตุที่ไม่มีการร้องเรียนเรื่องคอร์รัปชันเป็นเพราะกลัวถูกกลั่นแกล้ง และไม่มั่นใจว่าจะนำไปสู่การลงโทษผู้ทุจริต เกือบ 9 ใน 10 ของผู้ที่เคยพบเห็นคอร์รัปชันคิดว่าเหตุผลทั่ง 2 ข้อดังกล่าวเป็นสาเหตุที่ทำให้ไม่มีการรายงานเมื่อมีการพบเห็นการทุจริตคอร์รัปชัน ที่มา สำนักงาน ก.พ. ; 2544

สื่อมวลชนที่เข้มแข็ง ภาคราชการ - โปร่งใส ยึดมั่นในกฎหมาย ระเบียบ - เปิดโอกาสให้ ประชาชนได้รับรู้ ข้อมูลข่าวสารและ มีส่วนร่วม สถานการณ์ของประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ประชาชน - เคารพกฎหมาย ระเบียบ กติกา - เปิดเผย - จริงจังและจริงใจ - รับผิดชอบการ กระทำของตน - พึ่งพาตนเอง ความโปร่งใส ของประเทศ สแกนดิเนเวีย บทบาทของ สื่อมวลชนที่เข้มแข็ง

จบการนำเสนอ ตอบข้อซักถาม