โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล การระดมความคิดเห็น ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล กลุ่ม ๓ ภาคใต้
๑. ทำไมต้องเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล เพื่อพัฒนาคุณภาพวิชาการ มีบุคลากรครบชั้น/ครบวิชา มีอาคารเรียนเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมการศึกษาเพื่อการมีอาชีพ มีการร่วมมือกันทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน มีความพร้อมในการให้บริการทางการศึกษาแก่ชุมชน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ครบทุกทักษะ ผู้ปกครอง ชุมชน มีความเชื่อมั่น
๒.เป้าหมายหลักการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล พัฒนาผู้เรียนด้านการใช้ภาษาอังกฤษ 100% ภาษาจีน สื่อสารได้ พัฒนาการใช้ ICT เพื่อการศึกษา มีหลักสูตรสถานศึกษา/ท้องถิ่น โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ชุมชนและโรงเรียนใกล้เคียง โรงเรียนเป็นแหล่งสืบสานวัฒนธรรมประเพณี ผู้เรียนปลอดยาเสพติด ผู้เรียนไม่ทะเลาะวิวาทและใช้ความรุนแรง ผู้เรียนสามารถแข่งขันในเวทีระดับ ต่างๆ
๓. โจทย์การพัฒนาคุณภาพนักเรียน ๑. โจทย์ระดับโลก ๑.๑ นักเรียนมีความสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ตามมาตรฐาน ๑.๒ นักเรียนสามารถใช้ ICT ในการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี ๑.๓ นักเรียนสามารถแข่งขันเวที นานาชาติ ๒. โจทย์ระดับประเทศ ๒.๑ นักเรียนมีผลการสอบ O-NET สูงกว่าระดับประเทศ/มากกว่าร้อยละ 50 ๒.๒ นักเรียนมีจิตอาสา ๒.๓ นักเรียนสามารถแข่งขันวิชาการ ศิลปะ กีฬา และเทคโนโลยี
๓. โจทย์ระดับภาคของประเทศ ๓.๑ โรงเรียนเป็นโรงเรียนรางวัลพระราชทาน ๓.๒ นักเรียนเป็นนักเรียนรางวัลพระราชทาน ๓.๓ โรงเรียนได้รับการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในระดับดีเยี่ยม ๔. โจทย์ระดับกลุ่มจังหวัดและจังหวัด ๔.๑ นักเรียนร้อยละ ๕๐ มีผลการสอบ O-NET สูงกว่าระดับประเทศ ๔.๒ นักเรียนมีความสามารถในการเป็นมัคคุเทศก์น้อย ๔.๓ นักเรียนเป็นตัวแทนในการแข่งขันเวทีระดับชาติ ๔.๔ นักเรียนสามารถสอบแข่งขันเข้าโรงเรียนยอดนิยมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
๕. โจทย์การพัฒนาตามบริบทอำเภอ/ตำบล/ท้องถิ่น ๕.๑ โรงเรียนมีอาคารเรียน อาคารประกอบ เพียงพอต่อการจัดการศึกษาและบริการชุมชน ๕.๒ โรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ๕.๓ โรงเรียนเป็นศูนย์บริการด้าน ICT ๖. โจทย์การพัฒนานักเรียนตามความแตกต่างและศักยภาพของนักเรียนรายบุคคล 6.๑ นักเรียนได้รับการพัฒนาเป็นรายบุคคลและส่งเสริมให้สามารถแข่งขันในเวทีระดับต่างๆ 6.๒ นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะด้านอาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมในการศึกษาต่อหรือสร้างรายได้ระหว่างเรียน
๗. โจทย์การพัฒนาที่ประชาชน/ผู้ปกครองต้องการ ๗.๑ นักเรียนสามารถสอบแข่งขันเพื่อศึกษาต่อโรงเรียนยอดนิยม ๗.๒ โรงเรียนสามารถพัฒนาและส่งต่อผู้เรียนเพื่อพัฒนาอาชีพแบบทวิภาคี ๗.๓ นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านจิตอาสาและภูมิคุ้มกันด้านยาเสพติด
๔. คุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลควรเป็นอย่างไร Outcome ครูมีวิทยฐานะสูงขึ้นจากการพัฒนากระบวนการเรียนการสอน นักเรียนมีพัฒนาการด้านการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา นักเรียนสามารถแข่งขันในเวทีการแข่งขันวิชาการ ศิลปะ กีฬา และเทคโนโลยี Output จำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น โรงเรียนมีความพร้อมด้านห้องเรียนและอาคารประกอบ โรงเรียนมีครูครบชั้น / ตรงสาขาวิชา มีหลักสูตรสถานศึกษา / ท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วม
๕. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน ๕.๑ ทักษะวิชาการ – ความรู้พื้นฐาน มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและหลากหลาย มีชมรมด้านวิชาการให้นักเรียนได้เลือกเรียนตามความสนใจ มีการพัฒนาด้านภาษาต่างประเทศตามบริบทของโรงเรียน ๕.๒ ทักษะชีวิต – ทักษะงาน นักเรียนสามารถว่ายน้ำได้ 100% นักเรียนปลอดจากยาเสพติด นักเรียนไม่มีการทะเลาะวิวาทและใช้ความรุนแรง นักเรียนปฏิบัติตนตามหลักศาสนา นักเรียนน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต
๕. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียน (ต่อ) ๕.๑ ทักษะวิชาชีพ – ความรู้เฉพาะทาง มีหลักสูตรส่งเสริมทักษะอาชีพที่หลากหลายและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน และความสนใจของนักเรียน
๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร กำหนด Outcome ตัวชี้วัด ๑.โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของชุมชน นักเรียนเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจของชุมชน ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย
๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร กำหนด Output ตัวชี้วัด ๑.นักเรียนสื่อสารได้หลายภาษา ๒.ผลสอบโอเน็ตสูงกว่าระดับประเทศ/ร้อยละ ๕๐ นักเรียนร้อยละ๘๕ สื่อสารได้ ๒ภาษาขึ้นไป ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการทดสอบระดับโรงเรียน เครือข่าย อำเภอ และระดับจังหวัด สูงขึ้น
๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร กำหนด Process ตัวชี้วัด ๑.ใช้กระบวนการ PDCA ๒.การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา / ท้องถิ่น การบริหารจัดการสารสนเทศของโรงเรียน การวิเคราะห์และประเมินหลักสูตร ความพึงพอใจของนักเรียน
๖. กระบวนในการดำเนินการควรเป็นอย่างไร กำหนด Input ตัวชี้วัด ห้องเรียน อาคารประกอบ ภูมิทัศน์ สื่อเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อความต้องการ มีความพร้อมตามองค์ประกอบในระดับดีเยี่ยม
๗. การขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์ ระยะสั้นและระยะยาว การสื่อสาร และรับรู้ร่วมกันของ ครู นักเรียน และชุมชน การจัดทำแผนปฏิบัติการ กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ การกำหนดโครงการ
๗. การขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์ ระยะสั้นและระยะยาว พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรท้องถิ่น วางแผนอัตรากำลัง วางระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เกณฑ์ความสำเร็จของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล การนิเทศ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงาน งานวิจัย รูปแบบ R & D
๘. เครื่องมือทางการบริหารที่นำมาใช้ แผนพัฒนา = แผนพัฒนาคุณภาพ/แผนปฏิบัติการประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา = แผนพัฒนาหลักสูตร/จัดทำหลักสูตรท้องถิ่น บุคลากร = แผนอัตรากำลัง ๓ ปี/แผนพัฒนาบุคลากร ๓ ปี แผนพัฒนาการมีส่วนร่วม = การ MOU กับ ภาคีเครือข่าย แผนปฏิบัติการ = โครงการมุ่งเน้นการพัฒนา ส่งเสริม และยกระดับ
๙. การประเมินความก้าวหน้าความสำเร็จและการรายงานต่อสาธารณะ การนิเทศติดตามความก้าวหน้า โอกาส และความสำเร็จ โดยแบ่งการประเมินเป็น ๓ ระดับ ประกอบด้วย การประเมินตนเอง การประเมินจากต้นสังกัด การประเมินจากหน่วยงานหรือองค์กร
๑๐. การกำหนด Timeline เขตพื้นที่ ธ.ค. ๖๑ – ม.ค. ๖๒ โรงเรียน ก.พ. ๖๒ – มี.ค. ๖๒ ชั้นเรียน ก.พ. ๖๒ – มี.ค. ๖๒ นักเรียน ก.พ. ๖๒ – พ.ค. ๖๒ ขับเคลื่อน (โครงการ) สื่อสาร (ชุมชน) เข้าใจ (กระบวนการ) พัฒนา (ตามเป้าหมาย)