รายงานผลการวิจัย : ThaiView 26 กันยายน 2549.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
MK315 Marketing Information System Ch 5 Marketing Research system
Advertisements

รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
ส่วนผสมการตลาดและประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลากลางคืนและความพอใจของผู้ใช้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสนอ โดยกลุ่มที่ 3.
การขับเคลื่อนงาน ด้านการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนในปัจจุบัน 1 นำเสนอโดย นายจุมพฏ วรรณฉัตรสิริ ผู้อำนวยการกองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลประกอบการเสวนา.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
แนวทางการประเมินองค์กรสำหรับหมวดที่ 1-6
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
บทที่ 13 กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ (TESTING STRATEGIES)
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
ประเภทของธุรกิจขายตรง (ครั้งที่ 2) อาจารย์วิไลลักษณ์ มีประชา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
Department of Marketing Bangkok University
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
ดร.อัญชลี ประกายเกียรติ
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ณ ห้องประชุม บก.ยศ.ทร. ชั้น 2
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
บทที่ 2 การวัด.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจและสุขภาวะของมุสลิมไทย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
กลยุทธ์องค์การ.
การขายสินค้าออนไลน์.
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานผลการวิจัย : ThaiView 26 กันยายน 2549

ThaiView ที่มาและวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการวิจัยทางการตลาดในประเทศไทย โดยจัดทำการวิจัยทุก 3 เดือนเพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนในประเด็นที่น่าสนใจต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม ThaiView เพื่อนำเสนอความเห็นของประชาชนซึ่งอาจเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานราชการและเอกชน ในการพัฒนาและปรับปรุงสังคม คุณภาพชีวิต ผลิตภัณฑ์ และการบริการที่สอดคล้องต่อความต้องการที่แท้จริงของประชาชน หัวข้อในการวิจัย สภาพการณ์โดยรวมของประเทศไทย การประยุกต์ใช้และการปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ความปรารถนาเกี่ยวกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในอนาคต การรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

2. ขอบเขตและวิธีการศึกษา การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative) การสัมภาษณ์ประชาชนทั่วไปแบบตัวต่อตัว การสุ่มตัวอย่างแบบ Quota sampling ตามอัตราส่วนของประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป สัมภาษณ์ประชาชนที่พบทั่วไป (Street intercept) รายได้ครอบครัว >10,000 บาท (ABCD SES Level) ดำเนินการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล : พื้นที่ชั้นใน ชั้นกลาง ชั้นนอก ดำเนินการสัมภาษณ์ วันที่ 18-20 สิงหาคม 2549 จำนวนผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 505 คน พื้นที่สำรวจ พื้นที่ชั้นใน (168 คน) ธนบุรี คลองเตย ดุสิต บางรัก บางกอกใหญ่ ป้อมปราบศัตรูพ่าย จตุจักร ตลิ่งชัน พระโขนง บางซื่อ วังทองหลาง บางแค จอมทอง พื้นที่ชั้นกลาง (197 คน) บางนา ดอนเมือง ทวีวัฒนา สะพานสูง มีนบุรี พื้นที่ชั้นนอก (140 คน)

เพศ ลักษณะผู้ให้สัมภาษณ์ ชาย 50% หญิง 50% (ฐาน : 505) อายุ (ปี) เปอร์เซ็นต์ เพศ 24% 23% 15% 14% 13% 11% ชาย 50% หญิง 50% 18-24 25-29 30-39 40-49 50-59 > 60 (ฐาน : 505) เปอร์เซ็นต์ รายได้ (บาท) 18% 18% 16% 16% 16% (ฐาน : 505) 13% 3% 10,000- 14,999 15,000- 19,999 20,000- 29,999 30,000- 39,999 40,000- 49,999 50,000- 99,999 > 100,000 (ฐาน : 505)

ลักษณะผู้ให้สัมภาษณ์ จำนวนบุตร สถานภาพ เปอร์เซ็นต์ 40% 29% 23% แยกกันอยู่/ หย่าร้าง/หม้าย ปฏิเสธการตอบ 7% 1% 1% 9% 1 คน 2 คน 3-5 คน >6 คน ไม่มีบุตร (ฐาน : 331) โสด 34% 57% แต่งงาน/ อยู่ด้วยกัน จำนวนผู้อาศัยในบ้าน เปอร์เซ็นต์ 57% 24% 19% (ฐาน : 505) 1-2 คน 3-5 คน >6 คน (ฐาน : 505)

อาชีพ ลักษณะผู้ให้สัมภาษณ์ 1% 18% 10% 5% 1% 10% 9% 5% 6% 2% 14% 8% 3% พนักงานบริษัทเอกชน ระดับผู้บริหาร พนักงานบริษัทเอกชนระดับปฏิบัติการ พนักงานบริษัทเอกชน ระดับล่าง ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ (ต่ำกว่า ซี 7) ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ (ซี 7 ขึ้นไป) เจ้าของกิจการขนาดเล็ก ค้าขาย ลูกจ้างทั่วไป (มีสังกัด) รับจ้างทั่วไป (ไม่มีสังกัด) อาชีพอิสระ แม่บ้าน/พ่อบ้าน เกษียณ ว่างงาน นักเรียน/นักศึกษา 1% 18% 10% 5% 1% 10% 9% 5% 6% 2% 14% 8% 3% 8% เปอร์เซ็นต์ (ฐาน : 505)

ผลการวิจัย

สภาพการณ์โดยรวมของ ประเทศไทย

ช่วงเวลาในการซื้อของที่ต้องการ ThaiView 5 ThaiView 4 เหมาะสม เหมาะสม 8% 8% ก้ำกึ่ง 33% ก้ำกึ่ง 30% ควรรอไปก่อน 59% ควรรอไปก่อน 62% (ฐาน : 505) (ฐาน : 519)

ThaiView 5 ThaiView 4 มั่นใจมาก ค่อนข้างมั่นใจ ไม่ค่อยมั่นใจ ความมั่นใจต่อสภาวะเศรษฐกิจของตัวเองในช่วงเวลา 12 เดือนจากนี้ ThaiView 5 ThaiView 4 มั่นใจมาก ค่อนข้างมั่นใจ ไม่ค่อยมั่นใจ ไม่มั่นใจเลย ไม่ทราบ 4% 4% 41% 29% 44% 51% 11% 15% 1% เปอร์เซ็นต์ (ฐาน : 519) (ฐาน : 505)

ความสุขกับคุณภาพชีวิตปัจจุบัน ThaiView 5 ThaiView 4 มีความสุขมาก มีความสุข ไม่มีความสุข ไม่มีความสุขเลย 6% 9% 85% 83% 8% 7% 1% 1% เปอร์เซ็นต์ (ฐาน : 505) (ฐาน : 519)

สิ่งที่ต้องการในชีวิต ThaiView 5 ThaiView 4 สุขภาพแข็งแรง มีชีวิตที่สงบ เรียบง่าย มีความมั่นคงทางการเงิน มีความสบายในบั้นปลายชีวิต มีเวลาอยู่กับครอบครัว มีบ้าน/ที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเอง ประสบความสำเร็จในการทำงาน/ในธุรกิจของตนเอง มีงานที่น่าสนใจ/มั่นคง การได้ทำตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม มีกิจการเป็นของตัวเอง มีกำลังใจที่ดี มีเวลาพักผ่อนสันทนาการ มีการศึกษาที่ดี มีชีวิตแต่งงานที่มีความสุข มีการท่องเที่ยวพักผ่อนในประเทศ 67% 65%* 57% 45% 37% 34% 29% 24% 23% 22% 20%* 16%* 14% 13% 12% 61% 50% 65% 58% 42% 41% 34% 27% 20% 22% 39% 32% 10% 14% 17% (ตอบได้หลายข้อ) (ฐาน) (505) (519) * หมายเหตุ : มีความแตกต่างระหว่างการสำรวจ ThaiView 5 และ ThaiView 4 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

สิ่งที่สร้างความกังวลใจ ThaiView 5 ThaiView 4 ปัญหาด้านสุขภาพ/อาการเจ็บป่วย ภาวะเงินเฟ้อและข้าวของราคาแพง เศรษฐกิจตกต่ำ และภาวะการว่างงาน การมีเงินเพียงพอที่จะเลี้ยงชีพ และใช้จ่ายในด้านต่างๆ ความไม่มั่นคงทางการเมือง ปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ อาชญากรรมและการกระทำผิดกฎหมาย ยาเสพติด ปัญหาความเครียด ปัญหาการจราจร ปัญหาความแตกแยกในสังคม คุณภาพของการศึกษา การขาดแคลนพลังงาน การกระทำที่ไม่ถูกต้อง/การโกงกินของข้าราชการที่ ถูกเลือกเข้าไป ปัญหาทางเพศ 39%* 38% 33% 31% 22% 19% 16% 15% 9% 9%* 7% 6% 10% 25% 43% 19% 29% 17% 8% 14% 9% 27% 6% 7% 5% (ตอบได้ 3 ข้อ) (ฐาน) (505) (519) * หมายเหตุ : มีความแตกต่างระหว่างการสำรวจ ThaiView 5 และ ThaiView 4 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

การรับรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง

58% การรู้จักและความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ความเข้าใจ การใช้จ่ายอย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือย/ใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น การรู้จักตนเอง มีมากใช้มาก มีน้อยใช้น้อย การออมเงิน/การเก็บเงิน การอยู่แบบพอเพียง พอมีพอกิน การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย สมถะ พอดี ไม่เบียดเบียนใคร การพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ การไม่มีหนี้สิน สร้างรายรับ-รายจ่ายให้เกิด ความพอดี ไม่อยากได้/ทำในสิ่งที่เกินตัว การใช้สิ่งที่มีอยู่/ทรัพยากร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 52% 27% 20% 18% 14% 8% 6% 4% (ฐาน : 494) 58% (ฐาน : 505) การรู้จัก รู้จักและพอจะทราบความหมายบ้างเล็กน้อย 18% รู้จักและเข้าใจความหมายและปรัชญาเป็นอย่างดี เคยได้ยินแต่ไม่แน่ใจในความหมาย 16% 6% 2% เคยได้ยินแต่ ไม่ทราบความหมาย ไม่รู้จักและไม่ทราบความหมาย

ข้อความที่อธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงได้ดีที่สุด การพอใจในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ การประหยัด ลดค่าใช้จ่าย ไม่ใช้เงินฟุ่มเฟือย ความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ การดำรงชีวิตอย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ การดำรงชีวิตด้วยความมีสติ รอบคอบ ใช้ปัญญา การใช้ชีวิตแบบพอดี เดินทางสายกลาง การไม่มุ่งเน้นความเจริญทางวัตถุ การใช้ชีวิตเหมือนอยู่ในชนบท มีความเรียบง่าย สมถะ การไม่เป็นหนี้สิน การรู้จักเก็บออม สะสมเงิน การใช้ชีวิตโดยไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น การดำเนินชีวิตด้วยความเพียร อดทน การใช้คุณธรรมในการดำเนินชีวิต มีความซื่อสัตย์ 52% 41% 24% 19% 14% 13% 11% 10% (ตอบได้ 3 ข้อ) (ฐาน) (505)

กลุ่มคนที่ควรนำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ที่สุด เหตุผล ชาวสวน/ชาวนา/ชาวไร่ ผู้มีรายได้น้อยทั่วไป นักการเมือง ผู้ใช้แรงงานหาเช้ากินค่ำ ผู้ที่มีครอบครัว เยาวชน/วัยรุ่น/นักเรียน/ นักศึกษา ข้าราชการ พนักงานประจำ/ผู้มีเงินเดือน นักธุรกิจ/เจ้าของกิจการ ผู้ว่างงาน ผู้บริหารองค์กรต่างๆ 20% ชาวนา/ชาวสวน/ชาวไร่ 45% 43% 13% มีทรัพยากร/ที่ดินที่ใช้ประโยชน์ได้ รายได้น้อย/รายได้้ไม่แน่นอน ไม่ค่อยรู้จักการจัดสรรการใช้จ่าย 18% 12% (ฐาน : 100) 11% ผู้มีรายได้น้อยทั่วไป รายได้น้อย/รายได้ไม่แน่นอน เป็นกลุ่มคนที่ควรประหยัด อดออม ไม่ฟุ่มเฟือย เป็นกลุ่มคนที่ไม่ควรมีหนี้สิน จะได้รู้จักการจัดสรรรายได้ให้ เหมาะสมกับฐานะ 72% 40% 26% 25% 10% 9% 6% (ฐาน : 92) 5% นักการเมือง 4% เป็นบุคคลที่ควรทำตัวเป็นแบบอย่างแก่ ประชาชนทั่วไป จะได้ไม่ฉ้อราษฎร์บังหลวง/ไม่คอรัปชั่น จะได้บริหารบ้านเมืองอย่างจริงจัง ไม่เอาเปรียบประชาชน จะได้ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว ไม่แก่งแย่งชิงดี 37% 25% 17% 3% 1% เปอร์เซ็นต์ (ฐาน : 505) (ฐาน : 63)

การประยุกต์ใช้และปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

66% การดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในปัจจุบัน เหตุผล 13% 14% 7% จะได้ไม่เครียด/ไม่เดือดร้อนเรื่องเงิน/ มีค่าใช้จ่ายเพียงพอ จะได้มีเงินเก็บมากขึ้น จะได้ไม่เป็นหนี้เป็นสิน ค่าครองชีพ ราคาสินค้า น้ำมันแพง จึงต้องประหยัด ตัวเอง/ครอบครัว/พ่อแม่ จะได้ไม่ ลำบาก ไม่มั่นใจในเศรษฐกิจ/การเมือง รายได้น้อย/รายได้ไม่แน่นอนจึง ต้องประหยัด 31% 30% 19% 15% 13% 7% ยังและไม่แน่ใจว่าจะทำเมื่อไร ยังแต่คิดว่าจะทำในอนาคตแน่นอน 7% 13% ดำเนินชีวิตตาม แนวคิดนี้เสมอ 14% 66% ดำเนินชีวิตตามแนวคิดนี้อยู่บ้าง (ฐาน : 470) ยังไม่ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง 26% 13% 11% ยังมีสิ่งที่อยากได้ อยากซื้อ/ใช้จ่าย ตามสมัยนิยม ยังมีภาระค่าใช้จ่ายอยู่ (หนี้สิน รถ บ้าน ค่าเทอม เป็นต้น) รายรับยังไม่เพียงพอกับรายจ่าย มีรายได้น้อย/มีแค่พอใช้ ตอนนี้ยังไม่มีงานทำ/งานยังไม่มั่นคง (ฐาน : 505) (ฐาน : 99)

วิธีในการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ใช้จ่ายอย่างประหยัด/มัธยัสถ์/ใช้เงินเท่าที่จำเป็น การออมเงินในรูปแบบต่างๆ เช่น ฝากธนาคาร สหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน ทำประกันชีวิต จัดสรรค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับรายได้ ไม่สร้างหนี้สิน/ไม่ก่อหนี้เพิ่ม ใช้ของที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า/นำมารีไซเคิลใช้ใหม่ พอใจกับสิ่งที่ตนมีอยู่/ไม่อยากมีอยากได้ตามคนอื่น ทำของกินของใช้เองในบ้าน เช่น ปลูกผัก ทำสวน เลี้ยงสัตว์ ใช้น้ำ-ไฟ อย่างประหยัด ลดการสังสรรค์กับเพื่อน/เที่ยวกลางคืน ปฏิบัติงาน/ปฏิบัติตนอย่างซื่อสัตย์ อยู่ในศีลธรรม ทำอาหารทานเอง 75% 37% 19% 13% 8% 6% 5% 4% (ฐาน : 470)

ผลที่ได้รับจากการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ชีวิตมีความสุขมากขึ้น มีชีวิตที่ไม่มีหนี้ หรือมีหนี้สินน้อยลง มีเงินเก็บมากขึ้น ดำเนินชีวิตโดยไม่ต้องดิ้นรน แข่งขัน ความเครียดลดลง มีความภูมิใจในตัวเองมากขึ้น ชีวิตมีคุณค่ามากขึ้น สังคมมีความน่าอยู่มากขึ้น มีเวลาให้กับครอบครัวมากขึ้น เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับคนรุ่นหลัง มีเวลาในการทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้น 67% 53% 47% 27% 25% 14% 11% 10% 3% (ตอบได้ไม่เกิน 3 ข้อ) (ฐาน) (470)

ความปรารถนาเกี่ยวกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในอนาคต

ระดับองค์กรและภาคธุรกิจ ความปรารถนาให้คนไทยนำแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในอนาคต ระดับบุคคล/ครอบครัว 98% ระดับชุมชน 36% ระดับองค์กรและภาคธุรกิจ 19% 59% 42% 31% 25% 24% 16% 11% 13% 12% 9% 6% 6% 3% 2% ไม่ฟุ้งเฟ้อ/ ฟุ่มเฟือย/ใช้ของ เกินฐานะ จัดสรรค่าใช้จ่าย ให้เหมาะสมกับ รายได้ ไม่เป็นหนี้เป็นสิน ประหยัดตัดทอน ค่าใช้จ่ายที่ไม่ จำเป็น ให้ความสำคัญกับ การออมเงิน ดำเนินชีวิตอย่าง ไม่โลภ ไม่เอา เปรียบผู้อื่น ดำเนินชีวิตด้วย ความมีสติ รอบ คอบ ใช้ปัญญา ปลูกฝังจิตสำนึก ที่ดีในการทำ ประโยชน์ให้ส่วนรวม มีการพึงพาอาศัย เกื้อกูลกันใน สังคม สร้างรายได้/ อาชีพในแต่ละ ชุมชน มีการใช้ทรัพยากร ของประเทศอย่าง ฉลาด ดำเนินธุรกิจด้วย ความสุจริต และมี คุณธรรม แสวงหากำไรแต่ พอดี ใช้ทรัพยากร อย่างเหมาะสม ลดการพึ่งพา วัตถุดิบ/ เทคโนโลยีจาก ต่างชาติ ให้ความสำคัญกับ กิจกรรมการช่วย เหลือสังคมด้าน ต่างๆ พัฒนาองค์ความรู้ ให้เกิดขึ้นในองค์กร (ฐาน : 497) (ฐาน : 183) (ฐาน : 95)

สิ่งที่ปรารถนาให้ภาครัฐสนับสนุนเพื่อให้ประชาชนปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ให้ความรู้/จัดสัมมนา/จัดหลักสูตรการเรียน เกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างรายได้ อาชีพ จัดหางานให้กับคนจบใหม่/ คนเรียนน้อย/คนว่างงาน ส่งเสริมให้คนรู้จักใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ เกี่ยวกับแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงให้มากขึ้น ปลูกจิตสำนึก/รณรงค์เรื่องการประหยัด ใช้ชีวิตเบบทาง สายกลางและพอเพียง ปรับ/ควบคุมราคาสินค้าให้ถูกลง (ค่าน้ำ, ค่าไฟ, ค่าน้ำมัน) สนับสนุนการออมเงิน/เพิ่มดอกเบี้ยเงินฝาก ส่งเสริมการใช้สินค้าไทย/เลิกใช้สินค้าฟุ่มเฟือย ให้รัฐบาล/ผู้นำชุมชน/ผู้บริหาร/ดารานักร้องดำเนินแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นตัวอย่าง จัดสรร/สนับสนุนให้ประชาชนมีที่ดินเป็นของตนเอง เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ/ค่าครองชีพ/เงินเดือน 29% 18% 7% 6% 5% 4% (ฐาน : 505)

สิ่งที่ทำเพื่อในหลวงในวโรกาสที่ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี ไม่เอาเปรียบเบียดเบียนผู้อื่น/ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ทำงานด้วยความซื่อสัตย์/ไม่ทุจริต/ไม่คดโกง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด/ไม่ดื่มเหล้า/ไม่สูบบุหรี่ ทำความดี คิดดี พูดดี ยึดมั่นในศีลธรรม รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง เช่น ตั้งใจทำงาน ศึกษาเล่าเรียน ประหยัด ใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น ไม่ฟุ่มเฟือย แสดงความจงรักภักดี เช่น การใส่เสื้อสีเหลือง ไปลงนาม ถวายพระพร ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง บำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม ทำตนเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับบุตรหลาน เช่น การประหยัด อดออม การไม่สูบบุหรี่ เป็นต้น ดูแลเอาใจใส่ กตัญญูต่อบิดา-มารดา รู้จักเก็บออมเงิน เคารพกฎหมายบ้านเมือง 23% 17% 16% 14% 11% 10% 9% 8% 6% 4% 3% (ฐาน : 505)

สรุป ความมั่นใจในสถานภาพทางการเงินของตนเองใน 12 เดือนเพิ่มขึ้นจาก 33% ในไตรมาสแรก เป็น 45% ยังคงมีแรงกดดันด้านภาวะเงินเฟ้อ และราคาสินค้าที่ปรับสูงขึ้น มีการปรับในมุมมองเข้าในเรื่องส่วนตนมากขึ้น เช่น 65% ต้องการชีวิตที่มีความสงบเรียบง่าย 67% ต้องการสุขภาพที่แข็งแรง 31% ห่วงการมีเงินเพียงพอที่จะเลี้ยงชีพ และใช้จ่ายในด้านต่างๆ เหตุผลประการหนึ่งอาจมาจากการตระหนักในผลของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดย 98% เคยได้ยิน 76% มีความเข้าใจ 80% นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ผลที่ได้รับคือ ชีวิตมีความสุขมากขึ้น มีชีวิตที่ไม่มีหนี้ มีเงินเก็บมากขึ้น ดำเนินชีวิตโดยไม่ต้องดิ้นรนแข่งขัน เป็นต้น อยากให้ภาครัฐ ให้ความรู้/จัดหลักสูตรการเรียนเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และการใช้ทรัพย์กรให้เกิดประโยชน์ เน้นไปที่เรื่องการใช้จ่าย แต่คุณค่าอื่นๆ ของปรัชญายังไม่ปรากฏเห็นเด่นชัด

รายงานผลการวิจัย : ThaiView 26 กันยายน 2549

Marketing Research Industry and Trends 26 กันยายน 2549

(+3%) (+2.4%) (+2.1%) (+7.4%) (+1.5%) (+6.7%) มูลค่าตลาดของธุรกิจงานวิจัยการตลาดโลก (ปี ค.ศ. 2005) (อัตราการขยายตัวของภาวะเงินฟ้อ) (+3%) (+2.4%) (+2.1%) (+7.4%) (+1.5%) (+6.7%)

มูลค่าตลาดของธุรกิจวิจัยการตลาดในทวีปเอเชีย (อัตราการขยายตัวของภาวะเงินเฟ้อ) Source : ESOMAR 2006

สัดส่วนของประเภทธุรกิจที่ใช้บริการด้านวิจัยการตลาดของโลกมีดังนี้ Source : ESOMAR 2006

ปัญหา/อุปสรรคในธุรกิจวิจัยการตลาด การขาดแคลนบุคลากรด้านนักวิจัยการตลาด การอบรมบุคลากรสำหรับนักวิจัยที่ยังไม่เพียงพอ มาตรฐานทางด้านคุณภาพ และด้านการปฏิบัติงาน การแข่งขันด้านราคา การแข่งขันจากธุรกิจอื่นๆ เช่น CRM และบริษัทที่ปรึกษา การป้องกันผู้บริโภคจากการฉวยโอกาสใช้การวิจัยทางการตลาดเป็นเครื่องมือเพื่อเสนอสินค้าหรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่เกี่ยวกับการวิจัย

แนวโน้มของธุรกิจวิจัยการตลาด พัฒนาการให้คำปรึกษา และศักยภาพของระบบ system integration/การรวมวิจัยการตลาด และการให้คำปรึกษาเข้าด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงไปของทักษะของนักวิจัยในปัจจุบัน ซึ่งยังต้องมีทักษะด้านการวิเคราะห์ ช่างสังเกต ให้ความสำคัญกับทุกๆ รายละเอียด และการสื่อสารได้เป็นอย่างดีแต่เพิ่มการมีแนวคิดทางด้านการตลาดและธุรกิจ ความสามารถ/ทักษะในการแก้ปัญหา และความสามารถในด้านการให้คำปรึกษา มีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะและตลาด niche มีการเน้นและลงทุนในด้านเทคโนโลยีให้มากขึ้น และเกิดความเติบโต ในด้านการวิจัยอินเตอร์เน็ต/ออนไลน์อย่างต่อเนื่อง การให้มุมมองและการวิเคราะห์เป็นภาพรวมโดยอาศัยการผสมผสานข้อมูลในรูปแบบต่างๆ จากหลายแหล่ง (Integrated holistic approach) ได้มีการเปลี่ยนแปลงจากการเน้นข้อมูลได้รับจากการศึกษาแต่ละงานเท่านั้น นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ในการวิจัยการตลาด ตั้งแต่คิดรูปแบบ วิธีการต่างๆ รวมถึงการวิเคราะห์ การวัดและติดตามดัชนีชี้วัดที่ชัดเจน (KPIs) มุ่งประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้รับ มากกว่าเพียงการรวบรวมข้อมูล การขยายเติบโตของการศึกษาเรื่องการทำนายแนวโน้มในอนาคต/Trend watching การทำการวิจัยในธุรกิจด้านการเงิน ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ และการวิจัยด้าน branding เป็นธุรกิจที่ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีการเติบโตด้านการทำวิจัย CRM