ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายและทิศทางการศึกษา ของรัฐบาล
Advertisements

สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
Roadmap RUN for Thailand 4.0
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
New Chapter of Investment Promotion
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
Co-Create Charoenkrung
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
HOW TO IMPLEMENT SUPPLY CHAIN 4
Road to the Future - Future is Now
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
Health Promotion & Environmental Health
ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข
Thailand 4.0 (ด้านสาธารณสุข)
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
กฎหมายการศึกษาไทย.
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
“พัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำปี พ.ศ ”
ความคืบหน้าการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
การสัมมนา สถานการณ์ แนวทางและ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2557
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
The Association of Thai Professionals in European Region
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
บรรยายการปรับแผนพัฒนาฝีมือแรงงานในมิติ
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
การเขียนย่อหน้า.
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นำพาประเทศให้หลุดพ้นจากกับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้ำความ และกับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา พร้อมๆ กับ ปฏิรูปประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน ขับเคลื่อน ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลไกประชารัฐ จนสามารถเป็นประเทศโลกที่หนึ่ง ในศตวรรษที่ 21 เดินหน้าไปด้วยกัน (Stronger, Together) ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง (Leave No One Behind) สร้างความเข้มแข็งจากภายใน (Strength from Within) เชื่อมโยงประชาคมโลก (Connect to the World) นโยบาย ขับเคลื่อน หลักคิด พลังประชารัฐ มุ่งขยาย “พื้นที่ร่วม” (Extending Common Ground) เพื่อบรรลุ “เป้าหมายร่วม” (Achieving Common Goal)

5 New Social Architecture ขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 สร้าง Innovation-Driven Economy สร้าง Inclusive Society สังคมแห่งโอกาส สังคมที่สามารถ สังคมที่เป็นธรรม สังคมที่เกื้อกูลแบ่งปัน สังคมที่พอเพียง คนไทย 4.0 เพื่อการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ช่วยเหลือผู้อื่น คนไทย ๔.๐

4 วาระ การขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 in Action ๑. สร้างสังคมแห่งโอกาสและสังคม ที่สามารถใน ๕ กลุ่มเป้าหมาย ๒. สร้าง Multiple Growth Poles ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัด ๔.๐ ๓. สร้าง Competitive Ecosystem สำหรับกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ๔. ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานแห่งอนาคต กลไก ประชารัฐ ซ่อมเสริมฐานราก เตรียมการสู่อนาคต วาระที่ 1 สร้างสังคมแห่งโอกาส และ สังคมที่สามารถ ใน ๕ กลุ่มเป้าหมาย วาระที่ 1 สร้างสังคมแห่งโอกาส และสังคมที่สามารถ ใน ๕ กลุ่มเป้าหมาย OTOP/ SMEs แรงงาน ไร้ฝีมือ คนจน ในเมือง คนสูงวัย เกษตรกรรายย่อย ขับเคลื่อนโดย ก.เกษตร ก.แรงงาน ก.พัฒนาสังคมฯ ก.มหาดไทย ก.อุตสาหกรรม ก.สาธารณสุข ธกส. ธนาคารออมสิน ธอส. กองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ

วาระที่ ๒ สร้าง Multiple Growth Poles ผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัด ๔.๐ ใช้แนวคิด Area-Based Collaboration (ABC) ผ่านกลไกประชารัฐเชิงพื้นที่ ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัด หอการค้า สภาอุตสาหกรรม ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ฯลฯ ขับเคลื่อนผ่านวิสาหกิจเชิงสังคม อาทิ บริษัทประชารัฐสามัคคี, PPP เป็นสัญญาประชาคมของประชารัฐในระดับพื้นที่ (Area-Based Social Contract) เป็นการวางยุทธศาสตร์ทั้งระยะสั้น กลาง ยาว เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และโมเดล ประเทศไทย ๔.๐ เป็นกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนจะมีความเป็นเจ้าของ จึงเป็นกระบวนการปลูกฝังระบอบประชาธิปไตย เป็น Demand Side Approach ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ลดโอกาสการสูญเสียจากการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจาก Supply Side Approach ที่มาจาก ภาคราชการ ปิดกั้นโอกาสการแทรกแซง หรือดำเนินการมาตรการประชานิยม ที่มาจากนักการเมือง อย่างในอดีต จะกระตุ้นให้เกิดการทำให้จังหวัดเป็นพื้นที่ที่น่าสนใจ (Attractive Place) เพื่อดึงดูดการลงทุน จากภายนอก การสร้างคนในพื้นที่ให้มีผลิตภาพสูง (Productive People) รวมถึงการสร้างสินค้าและบริการมูลค่าสูงของจังหวัดที่สามารถแข่งขันได้ (Competitive Products/Services ตั้งงบประมาณให้จังหวัดละ ๑๐ ล้าน เพื่อให้คนในพื้นที่ร่วมกันทำ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ “จังหวัด ๔.๐” ให้แล้วเสร็จภายใน 3 เดือน มี Roadmap กลไกขับเคลื่อน พร้อมตัววัดผลสัมฤทธิ์ ที่เป็นรูปธรรม ทั้งในระยะ 1 ปี 5 ปี และ 20 ปี ที่ชัดเจน และมี Quick win ออกมาภายใน 6 เดือน

วาระที่ 4 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน แห่งอนาคต วาระที่ 3 สร้าง Competitive Ecosystem สำหรับกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย เทคโนโลยี อุตสาหกรรม วิสาหกิจ ประเทศไทย 4.0 รากแก้ว พัฒนาเทคโนโลยีของตนเอง ในระดับหนึ่ง เป็นเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ ความต้องการของประเทศ วิสาหกิจที่ขับเคลื่อน ด้วยนวัตกรรม Tech Based Startups วาระที่ 4 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน แห่งอนาคต ปรับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และโครงสร้างสู่การเป็น Extended Nation เพื่อรองรับโลก ไร้พรมแดน One Word One Destination Connectivity-Based Infrastructure ประเทศไทย 4.0 Regional Commonwealth Stateless Corporations Cloud Communities Global Villages Networked Cities ประเทศไทย ประชาคมโลก ประเทศไทย ประชาคมโลก การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายทางกายภาพ การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายของผู้คน การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเชิงสถาบัน การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายในโลกเสมือน