บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
John Rawls  John Rawls is the most famous American social contract theorist argued that “Justice is fairness” He Thought human natural have a appropriate.
Advertisements

รัฐในเศรษฐศาสตร์สถาบัน
การวิจารณ์งานทัศนศิลป์ (Art Criticism)
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
JIRAWAT PROMPORN TRAINING Dept. BOOK PROMOTION & SERVICE CO., LTD. Update Latest 16/08/50 STATSnetBASE.
นิติบุคคลอาคารชุด วันพลัส มช.1 รายงานแจ้งซ่อม ประจำเดือน สิงหาคม 2557
ประกันภัยความรับผิดเนื่องจากผลิตภัณฑ์ (Products Liability Insurance)
สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กฤฤษณ์พชร โสมณวัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ.หทัยกาญจน์ กำเหนิดเพชร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
Lecture บทที่ 5 การจัดการคลังสินค้า และการกระจายสินค้า
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
Educational Technology & Instructional Technology
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
Chapter 2 Subjects of International Law
บทที่ 1 แนวคิด ทฤษฎี และพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
(Product Liability: PL Law)
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
Techniques of Environmental Law
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์
หน่วยที่ 1. ความหมายและประเภทของโครงการ
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
กฎหมายอาญา(Crime Law)
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
พระเจ้าต้องการความช่วยเหลือของท่าน ตอนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การบรรยาย การมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในการอำนวยความยุติธรรม
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
Digital image Processing
บทที่ 6 บุคคล บุคคลคือผู้ทรงสิทธิหน้าที่ในกฎหมาย (Subject of Law)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมาย
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
กฎหมายสิ่งแวดล้อม : การฟ้องคดีสิ่งแวดล้อม
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล
เบื้องต้นว่าด้วยรัฐศาสตร์
วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
Review - Techniques of Environmental Law
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ. ศ
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
Chapter 8 State and Sovereign Immunity
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ฉบับเต็ม จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
โรเบิร์ต บอยล์ Robert Boyle
กฤษณ์พชร โสมณวัตร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก และการจัดทำประมวลกฎหมาย
คณะทำงานเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัย
การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด

ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ในกฎหมายโรมันมี หลักหนี้ที่เกิดจากการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ บุคคลผู้เสียหายสามารถตอบโต้ได้อย่างเสรีปราศจากการควบคุม เป็นการแก้แค้นทดแทน ไม่มีขอบเขต อาจแก้แค้นเกินกว่าที่ตนโดนกระทำ อาญากับละเมิดจึงแยกกันไม่ออก ยุคต่อมา ใช้ระบบตาต่อตาฟัน ต่อมา ใช้การตกลงกัน หากต้องการให้หลุดพ้นจากระบบตาต่อตาฟัน เริ่มมีการตกลงชดใช้ทางแพ่ง

ยุคปัจจุบัน แต่ในปัจจุบันได้มีการแบ่งแยกความรับผิดทางแพ่งและความรับผิดทางอาญาออกจากกันอย่างชัดเจน เพราะวัตถุประสงค์ของกฎหมายแพ่งและอาญานั้นต่างกัน กฎหมายกำหนดจำนวนค่าเสียหายจำนวนหนึ่งโดยให้ศาลเป็นผู้ใช้ดุลพินิจกำหนด

ทฤษฎีความรับผิดในทางละเมิด ทฤษฎีความรับผิดในทางละเมิด  ทฤษฎีรับภัย ถือว่า ใครกระทำการใด ๆ แล้วย่อมเป็นการเสี่ยงภัย (ใครก่อ คนนั้นต้องรับผิด ) ผู้ที่ก่อความเสียหายจะต้องรับผิดเสมอ โดยไม่มีสิทธิปฏิเสธความรับผิด โดยถือว่าผู้ที่ได้กระทำการใดขึ้นมาย่อมต้องรับความเสี่ยงภัยจากการกระทำของตน ทฤษฎีความผิด(Fault theory) อิทธิพลความเชื่อทางศาสนา ถือว่าผู้ที่ทำละเมิดคือผู้ที่ทำผิดศีลธรรมด้วย ดังนั้นต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบภายในจิตใจด้วย กล่าวคือความรับผิดในทางละเมิดจะมีได้เมื่อการกระทำนั้นเป็นความผิด (Fault) ได้กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำให้ผู้อื่นเสียหายจึงต้องรับผิด

ทฤษฎีความรับผิดเด็ดขาด(Strict liability) ความรับผิดโดยไม่มีความผิด (Liability without fault) ความรับผิดที่ผู้กระทำจะต้องรับผิดทั้งที่ไม่มีความผิด

ความรับผิดในทางละเมิดของตนเอง (Fault liability) 1) กรณีบุคคลทำละเมิดตาม มาตรา 420 2) กรณีนิติบุคคลรับผิดในการทำละเมิดของผู้แทนนิติบุคคลตาม มาตรา 76

ความรับผิดในการทำละเมิดของบุคคลอื่น (Vicarious Liability)    1) กรณีของนายจ้างร่วมรับผิดในการทำละเมิดของลูกจ้าง ตามมาตรา 425      2) กรณีตัวการร่วมรับผิดในการทำละเมิดของตัวแทน ตามมาตรา 427      3) กรณีความรับผิดของบิดามารดา ผู้อนุบาลร่วมรับผิดในการทำละเมิดของผู้เยาว์หรือคนไร้ความสามารถ ตามมาตรา 429      4) กรณีความรับผิดของครูบาอาจารย์ นายจ้าง บุคคลอื่นผู้ดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถ ตามมาตรา 430

ความรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (Liability for damage caused by a property) ความรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ เป็นกรณีที่เป็นความรับผิดเด็ดขาดหรือความรับผิดโดยไม่มีความผิด(Liability without Fault หรือ Strict Liability) ของคนที่เป็นเจ้าของทรัพย์ เนื่องจากทรัพย์สินไมใช่บุคคล(Subject of Law)จึงไม่สามารถทำผิดกฎหมายหรือกระทำละเมิดได้ แต่สามารถทำความเสียหายได้

ความรับผิดทางละเมิด กับความรับผิดทางอาญา อาญา รัฐลงโทษผู้กระทำโดยคำนึงถึงส่วนรวม แต่ละเมิด มุ่งการเยียวยาความเสียหายที่เป็นปัจเจก อาญา มุ่งลงโทษผู้กระทำตามความชั่วร้ายของผู้กระทำ แต่ละเมิดมุ่งการเยียวยาความเสียหายในสังคมให้ได้รับการชดเชยเป็นหลัก อาญา ความรับผิดของผู้กระทำเป็นเรื่องเฉพาะตัว คดีอาญาเลิกเมื่อผู้กระทำผิดตาย แต่ความรับผิดละเมิดของผู้กระทำเป็นมรดกตกทอดได้ การตีความอาญาต้องเคร่งครัด แต่ทางละเมิดตีความขยายความเพื่อเยียวยาความเสียหายได้

ความรับผิดทางละเมิด กับความรับผิดทางอาญา อาญา จำแนกตัวผู้กระทำรับผิดไม่เท่ากัน ตัวการ ผู้สนับสนุน แต่ละเมิด มุ่งการเยียวยาความเสียหาย จึงไม่แยก ตัวการ ผู้สนับสนุน ต้องรับผิดเท่ากันหมด