By Poonyaporn Siripanichpong

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Travel with NASA from the biggest to the smallest distance of the universe. ร่วมเดินทางไปกับ นาซ่า จากจุดที่ไกลที่สุด ไปจนถึงจุดที่เล็กที่สุด ของจักรวาล.
Advertisements

Article A , An , The 1. การใช้ a, an:
จุดบนดวงอาทิตย์ ( Sunspots )
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
โดย อาจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์
Mars ดาวอังคาร Known as the Red Planet, it’s about to appear in spectacular fashion! รู้จักกันดีว่าเป็นดวงดาวสีแดง และได้ฤกษ์ที่จะปรากฏให้เห็นด้วยตาคุณเอง.
จอห์น เฮอร์เชล John Herschel
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
Article A, an, the.
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพลูโต (Pluto).
CC212 Internet Technology : Network Technology :
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
แรงในชีวิตประจำวัน.
แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ
Chapter 5 Satellite Systems
Microprocessor and Interfacing
โรงเรียนธนรัตน์วิทยา
Well-Tempered Clavier Bach werke verzeichnis
 เทคโนโลยีอวกาศ หมายถึง ระเบียบการนำความรู้ เครื่องและวิธีการต่างๆทางวิทยาศาสตร์มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาทางด้านดาราศาสตร์  และ อวกาศ  ตลอดจนสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับทรัพยากรธรรมชาติ 
หลักการวัดและการตรวจสอบเครื่องมือวัดอุณหภูมิโดยใช้ ice point
Tides.
การเขียนบทสำหรับสื่อ
ระบบสุริยะ (Solar System)
สายพานลำเลียง (Belt Conveyor)
พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์
โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แบบจำลองแรงโน้มถ่วง.
กำเนิดระบบสุริยะ เกิดจากกลุ่มก๊าซและฝุ่น ที่เรียกว่า โซลาร์เนบิวลา (Solar Nebula) เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีที่ผ่านมา กลุ่มฝุ่นก๊าซยุบตัวหมุนเป็นรูปจานที่ใจกลางของกลุ่มก๊าซ.
ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ.
GATT & WTO.
ความรู้เกี่ยวกับ กองทุนประกันสังคม 1.
การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy
หน่วยที่ 1. ความหมายและประเภทของโครงการ
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
Tides.
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สวัสดิการ พนักงานส่วนท้องถิ่น
วิเคราะห์หลุมบนดวงจันทร์
คุณภาพของผักหลังการเก็บเกี่ยว
ขั้นตอนและระยะเวลาการบริการ
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
จุดบนดวงอาทิตย์.
เจาะลึก google หลักการทำงานของ search engine
By Personal Information Management
Bornedmen are we all and one
ดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
ผู้จัดทำวิจัย อิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
ระบบสุริยะ (Solar System)
เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของ Meetings
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
By Poonyaporn Siripanichpong
โมเมนตัม (Momentum).
ความรู้เกี่ยวกับที่พักแรมที่มีลักษณะพิเศษ
องค์กรออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ Certificate Authority
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
บทที่ 3 ระบบสุริยะ ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3.1 กำเนินดวงอาทิตย์และบริวาร
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
จิตสำนึกด้านพลังงาน Energy Awareness DO FOR GREEN สารบัญ บทนำ
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
Chapter 5 Satellite Systems
ใบสำเนางานนำเสนอ:

By Poonyaporn Siripanichpong ดาวเคราะห์ By Poonyaporn Siripanichpong

ระบบสุริยะ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย ต่อการดำรงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite)

ระบบสุริยะ โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 8 ดวง เรียงตามลำดับ จากในสุด คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และยังมีดวงจันทร์บริวารของดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียงสองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ที่ไม่มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร

ดาวเคราะห์ต่างๆ

ระบบสุริยะ ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมากดาวเคราะห์ แต่ละดวงโดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงานออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาวเคราะห์ต่างๆ

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ (The Sun) เป็นดาวฤกษ์ซึ่งมีมวลร้อยละ 99 ของระบบสุริยะ จึงทำให้อวกาศโค้งเกิดเป็นศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วง โดยมีดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ ดวงอาทิตย์มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจนซึ่งเป็นอยู่ในสถานะพลาสมา (แก๊สที่มีอุณหภูมิสูงมากจนประจุหลุดออกมา)

ดวงอาทิตย์

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ (Planets) คือบริวารขนาดใหญ่ของดวงอาทิตย์ 8 ดวง เรียงลำดับจากใกล้ไปไกล ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์​ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ดาวเคราะห์ทั้งแปดโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีระนาบใกล้เคียงกับระนาบสุริยวิถี ดาวเคราะห์ชั้นใน 4 ดวงแรก มีองค์ประกอบหลักเป็นของแข็ง ดาวเคราะห์ชั้นนอก 4 ดวงหลังมีองค์ประกอบหลักเป็นแก๊สไฮโดรเจนเช่นเดียวกับดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์เกือบทุกดวงหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทางเดียวกัน

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดวงจันทร์บริวาร (Moons หรือ Satellites) หมายถึง ดาวที่เป็นบริวารโคจรรอบดาวเคราะห์อีกที่หนึ่ง มิได้โคจรรอบดวงอาทิตย์โดยตรง โลกมีบริวารชื่อ ดวงจันทร์ (The Moon) โคจรล้อมรอบ ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีดวงจันทร์บริวารโคจรล้อมรอบเช่นกัน ยกตัวอย่าง ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวง (Galilean moons) ชื่อ ไอโอ (Io), ยูโรปา (Europa), กันนีมีด (Ganymede) และคัลลิสโต (Callisto) ดาวเสาร์มีดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ชื่อ ไททัน (Titan)

ดวงจันทร์

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) เป็นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) ที่กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม ที่มีวงโคจรเป็นรอบดวงอาทิตย์ ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยวิถี

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ยกตัวอย่าง ดาวพลูโตถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แคระ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายทรงกลม มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ซ้อนทับกับวงโคจรของดาวเนปจูน และเอียงตัดกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุม 17° ดาวเคราะห์น้อยซีรีส ถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แคระ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายทรงกลม มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ซ้อนทับกับวัตถุอื่นๆ ที่อยู่ในแถบเข็มขัดดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์แคระซีเรส

ดาวพลูโต

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) คือวัตถุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากถูกรบกวนจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ทำให้แรงไทดัลที่เกิดขึ้นมีกำลังมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสสารภายในดาว ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่มีองค์ประกอบหลักเป็นหิน แต่บางดวงมีโลหะปนอยู่ ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่อยู่ที่ "แถบดาวเคราะห์น้อย" (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดาวเคราะห์น้อยมีรูปทรงเหมือนอุกกาบาต เนื่องจากมวลน้อยจึงมีแรงโน้มถ่วงน้อยไม่สามารถยุบรวมเนื้อดาวให้มีรูปร่างทรงกลม วงโคจรของดาวเคราะห์น้อยมีความรีมากกว่าวงโคจรของดาวเคราะห์ โดยวงโคจรส่วนใหญ่เอียงทำมุมกับระนาบสุริยวิถีเล็กน้อย

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ในปัจจุบันได้มีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยมากกว่า 3 แสนดวง เนื่องจากดาวเคราะห์น้อยไม่สามารถรวมตัวเป็นดาวเคราะห์ได้ มันจึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในมาหลายพันล้านปีแล้ว นักดาราศาสตร์จึงเปรียบว่า ดาวเคราะห์น้อยเป็นเสมือนฟอสซิลของระบบสุริยะ

ดาวเคราะห์น้อย

องค์ประกอบของระบบสุริยะ ดาวหาง (Comets) เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีแคบ และทำมุมเอียงตัดกับระนาบของสุริยวิถีเป็นมุมสูง ดาวหางมีองค์ประกอบเป็นน้ำแข็ง (Ice water) และแก๊สในสถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์ พลังงานจากดวงอาทิตย์ทำให้มวลของดาวหางระเหิดกลายเป็นแก๊ส ลมสุริยะเป่าให้แก๊สเหล่านี้ให้พุ่งไปในทิศทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ปรากฏเป็นหางยาวหลายล้านกิโลเมตร

ดาวหางฮัลเลย์

ทฤษฎีการกำเนิดของระบบสุริยะ หลักฐานที่สำคัญของการกำเนิดของระบบสุริยะก็คือ การเรียงตัว และการเคลื่อนที่อย่างเป็นระบบระเบียบของดาว เคราะห์ ดวงจันทร์บริวาร ของดาวเคราะห์ และดาวเคราะห์น้อย ที่แสดงให้เห็นว่าเทหวัตถุ ทั้งมวลบนฟ้า นั้นเป็นของ ระบบสุริยะ ซึ่งจะเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้เลย ที่เทหวัตถุท้องฟ้า หลายพันดวง จะมีระบบ โดยบังเอิญโดยมิได้มีจุดกำเนิด ร่วมกัน

ทฤษฎีการกำเนิดของระบบสุริยะ Piere Simon Laplace ได้เสนอทฤษฎีจุดกำเนิดของระบบสุริยะ กล่าวว่า ในระบบสุริยะจะมีมวลของก๊าซรูปร่างเป็นจานแบนๆ ขนาดมหึมาหมุนรอบ ตัวเองอยู่ ในขณะที่หมุนรอบตัวเองนั้นจะเกิดการหดตัวลง เพราะแรงดึงดูดของมวลก๊าซ ซึ่งจะทำให้ อัตราการหมุนรอบตัวเองนั้น จะเกิดการหดตัวลงเพราะแรงดึงดูดของก๊าซ

ทฤษฎีการกำเนิดของระบบสุริยะ ซึ่งจะทำให้อัตราการ หมุนรอบตัวเอง มีความเร็วสูงขึ้นเพื่อรักษาโมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) ในที่สุด เมื่อความเร็ว มีอัตราสูงขึ้น จนกระทั่งแรงหนีศูนย์กลางที่ขอบของกลุ่มก๊าซมีมากกว่าแรงดึงดูด ก็จะทำให้เกิดมีวงแหวน ของกลุ่มก๊าซแยก ตัวออกไปจากศูนย์กลางของกลุ่มก๊าซเดิม

ทฤษฎีการกำเนิดของระบบสุริยะ เมื่อเกิดการหดตัวอีกก็จะมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซเพิ่มขึ้น ขึ้นต่อไปเรื่อยๆ วงแหวนที่แยกตัวไปจากศูนย์กลางของวงแหวนแต่ละวงจะมีความกว้างไม่เท่ากัน ตรงบริเวณ ที่มีความ หนาแน่นมากที่สุดของวง จะคอยดึงวัตถุทั้งหมดในวงแหวน มารวมกันแล้วกลั่นตัว เป็นดาวเคราะห์

ทฤษฎีการกำเนิดของระบบสุริยะ ดวงจันทร์ของดาว ดาวเคราะห์จะเกิดขึ้นจากการหดตัวของดาวเคราะห์ สำหรับดาวหาง และสะเก็ดดาวนั้น เกิดขึ้นจากเศษหลงเหลือระหว่าง การเกิดของดาวเคราะห์ดวงต่างๆ ดังนั้น ดวงอาทิตย์ในปัจจุบันก็คือ มวลก๊าซ ดั้งเดิมที่ทำให้เกิดระบบสุริยะขึ้นมานั่นเอง

ทฤษฎีการกำเนิดของระบบสุริยะ ทฤษฎีของ Coral Von Weizsackerนักดาราศาสตร์ฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ซึ่งกล่าวว่า มีวง กลมของกลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองหรือเนบิวลา ต้นกำเนิดดวงอาทิตย์ (Solar Nebular) ห้อมล้อมอยู่รอบดวงอาทิตย์ ขณะที่ดวงอาทิตย์เกิดใหม่ๆ และ ละอองสสารในกลุ่มก๊าซ เกิดการกระแทกซึ่งกันและกัน แล้วกลายเป็นกลุ่มก้อนสสาร ขนาดใหญ่ จนกลายเป็น เทหวัตถุแข็ง เกิดขั้นในวงโคจรของดวงอาทิตย์ ซึ่งเราเรียกว่า ดาวเคราะห์ และดวงจันทร์ของ ดาวเคราะห์นั่นเอง