QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Data structure & Algorithms
Advertisements

คิวQueue Circular Queue.
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
โครงสร้างข้อมูล (Data Structures ) รหัสวิชา การเรียงลำดับข้อมูลแบบ (Heap Sort)
Pushdown Automata : PDA
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
DATA STRUCTURE AND ALGORITHM Linked List.
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
Queue Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao.
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
บทที่ 5 ระบบหน่วยความจำ. หน่วยความจำเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูล และ เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับประมวลผล หน่วยความจำหลัก (RAM) ต้องทำงาน ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลา.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Queue Lecturer : Kritawan Siriboon, Room no. 913
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
เกม คณิตคิดเร็ว.
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Basic Input Output System
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Object-Oriented Programming Paradigm
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
พอยเตอร์ #include <stdio.h> void main() { int age; int *pointer;
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ "เข้าก่อนออกก่อน" (First In First Out: FIFO) A B C H T B C H+1 T B C D H+1 T+1 B H T

QUEUE 5 4 3 2 1 F E D C B A 6 5 4 3 2 1 E D C B A 6 5 4 3 2 F E D C B ตัวชี้หัวของโครงสร้างข้อมูล ตัวชี้ท้ายของโครงสร้างข้อมูล ใส่ข้อมูล F เข้าไปในโครงสร้างข้อมูล 6 5 4 3 2 (c) F E D C B 1 5 เอาข้อมูล A ออกจากโครงสร้างข้อมูล

QUEUE การกระทำ(Operation) ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างข้อมูลแบบ Queueประกอบด้วย การสร้างคิว(Create) การนำสมาชิกข้อมูลเข้าคิว(Enqueue) การนำสมาชิกข้อมูลออกจากคิว(Dequeue) การทดสอบว่าคิวว่างหรือไม่(Empty) การทดสอบว่าคิวเต็มหรือไม่(Full) การทำให้คิวเป็นคิวว่าง(Clear)

QUEUE การสร้างคิวด้วย Array หมายถึง การแทนที่ข้อมูลของคิวด้วย array ซึ่ง เป็นการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำแบบ static นั่นคือ มีการกำหนดขนาดของคิวล่วงหน้าว่ามีขนาดเท่าใด และจะมีการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำให้เลย การสร้างคิวด้วย Link List หมายถึง การแทนที่ข้อมูลของคิวด้วย Link list ซึ่งเป็นการจัดสรรเนื้อที่หน่วยความจำแบบ Dynamic นั่นคือ หน่วยความจำจะถูกจัดสรรเมื่อมีการของใช้จริงๆ ระหว่างการประมวลผลโปรแกรมผ่านตัวแปรชนิด Pointer

HEAD = 1 HEAD = null TAIL = 1 TAIL = null TAIL =100 HEAD = 998 TAIL =2 ARRAYSIZE .. 4 3 2 1 TAIL =100 HEAD = 998 TAIL =2 HEAD = 1 คิวเต็ม TAIL =2,HEAD = 2

คิววงกลม แก้ปัญหาคิวเต็มไม่แท้จริง กำหนดให้ T ชี้วนกลับไปยังตำแหน่งแรกของ Array ในกรณีที่เมื่อวนกลับแล้ว T มีค่าน้อยกว่า H ARRAYSIZE .. 4 3 2 1 HEAD = 998 TAIL =1

QUEUE Algorithm INSQ(Q,N,H,T,DATA) 1. ถ้า H=1 และ T=N หรือถ้า H=T+1 แสดงว่าคิวเต็ม และจบการทำงาน 1.1 ถ้า H=null ดังนั้น ให้ H=1 และ T=1 1.2 ถ้า T=N ให้ T=1 และ 1.3 ถ้า T = ตำแหน่งใดๆ ให้ T=T+1 2. ให้ Q[T] = DATA 3. จบการทำงาน

QUEUE Algorithm DELQ(Q,N,H,T,DATA) 1. ถ้า H=null ดังนั้น คิว Under Flow และจบการทำงาน 2. ให้ DATA = Q[H] 2.1 ถ้า H=T ให้ H=T=null 2.2 ถ้า H=N ให้ H=1 2.3 ถ้า H= ตำแหน่งใดๆ ในคิวให้ H=H+1 3. จบการทำงาน

Priority QUEUES เป็นคิวประเภทหนึ่งที่มีขบวนการในการจัดลำดับและการลบออกเป็นดังนี้ 1. ข้อมูลที่มีลำดับความสำคัญสูงสุดถูกเรียกทำงานก่อน 2. ในกรณีข้อมูลมีลำดับความสำคัญเท่ากัน ข้อมูลที่มาก่อนถูกเรียกใช้งานก่อน

การประยุกต์ใช้คิว ใช้ในระบบ time-sharing วิเคราะห์จำนวนลูกค้าในคิวเพื่อกำหนดจุดให้บริการ