หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) และจัดทำแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) กิจกรรมการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ๑. การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) และการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒. การสื่อสารสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทดสอบ NT/O-NET แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ๓. การจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนที่สอดรับกับการทดสอบ NT/O-NET ๔. การจัดทำระบบส่งเสริมสนับสนุนการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในการสอบ NT/O-NET ๕. การนิเทศ กำกับติดตามการยกระดับคุณภาพผู้เรียนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) และการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) รายงาน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) วิเคราะห์ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รายงานผล การทดสอบ ของนักเรียนรายบุคคล รายงานผล การทดสอบของสถานศึกษา
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ แบบรายงาน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT / O-NET) ระดับสถานศึกษา
การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 School 01 : แบบสรุปรายงานผลการสอบของโรงเรียน School 02 : แบบรายงานค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบของโรงเรียน School 03 : แบบรายงานผลการทดสอบนักเรียนจำแนกรายบุคคลในแต่ละด้าน School 04 : แบบรายงานผลการทดสอบนักเรียนจำแนกรายบุคคลในแต่ละตชว. รายงานระดับโรงเรียน School 05 : แบบรายงานจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบถูกรายข้อ School 06 : แบบรายงานจำนวนนักเรียนจำแนกตามช่วงคะแนนของผลการทดสอบ School 07 : แบบรายงานผลการเรียงลำดับตามคะแนนค่าเฉลี่ยนักเรียน School 08 : แบบรายงานผลการทดสอบของโรงเรียนย้อยหลัง 3 ปี School 09 : แบบรายงานค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบจำแนกนักเรียนรายคน
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Testing: O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ฉบับที่ 1 ผลการทดสอบรายบุคคลสำหรับโรงเรียน ฉบับที่ 2 ค่าสถิติแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้สำหรับโรงเรียน ฉบับที่ 3 ร้อยละของนักเรียนที่ตอบถูกในแต่ละข้อสำหรับโรงเรียน รายงานระดับโรงเรียน ฉบับที่ 4 ช่วงคะแนนของผู้เข้าสอบ สำหรับโรงเรียน ฉบับที่ 5 ค่าสถิติแยกตามสาระสำหรับโรงเรียน ฉบับที่ 6 ค่าสถิติแยกตามรายวิชาสำหรับโรงเรียน
การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ และจัดทำแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา
สถานศึกษาวิเคราะห์ผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ (NT และ O- NET) และจัดทำแผนในการพัฒนา ค้นหามาตรฐานและตัวชี้วัดที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ค้นหาเนื้อหาสาระที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน เกณฑ์การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติแบบอิงเกณฑ์ และอิงกลุ่ม
Criteria referenced cut score การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติโดยใช้เกณฑ์การตัดสินแบบอิงเกณฑ์ และอิงกลุ่ม Norm referenced cut score OR Criteria referenced cut score
1. เกณฑ์การตัดสินแบบอิงกลุ่ม (Norm referenced cut score) เป็นการเปรียบเทียบผลการทดสอบในภาพรวมของสถานศึกษากับผลการทดสอบของหน่วยงานต่างๆ ที่ทำการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติในปีการเดียวกัน เช่น คะแนนเฉลี่ยของประเทศ คะแนนเฉลี่ยของต้นสังกัด คะแนนเฉลี่ยของจังหวัด หรือคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มของสถานศึกษาที่มีขนาดเดียวกับสถานศึกษา เป็นต้น 2. เกณฑ์การตัดสินแบบอิงเกณฑ์ (Criteria referenced cut score) เป็นการเปรียบเทียบผลการทดสอบในภาพรวมของสถานศึกษากับค่าคะแนนคงที่ที่เกณฑ์ในตัดสิน(Cut score)ที่สถานศึกษาเป็นผู้กำหนด ซึ่งเกณฑ์ในการตัดสินนี้จะต้องอยู่บนฐานของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติในปีการศึกษาที่ผ่านๆ มาของสถานศึกษา และศักยภาพของสถานศึกษาอีกด้วย ซึ่งเกณฑ์ในการตัดสินสามารถกำหนดได้ดังต่อไปนี้ กรณีที่ 1 คะแนนของมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ในแต่ละปีไม่ทิศทางที่ชัดเจน ให้ใช้คะแนนเฉลี่ยรวมของทุกปี เป็นเกณฑ์การตัดสิน กรณีที่ 2 คะแนนของมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ในแต่ละปีลดลงอย่างต่อเนื่อง ให้ใช้คะแนนเฉลี่ยรวมของทุกปี เป็นเกณฑ์การตัดสิน กรณีที่ 3 คะแนนของมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ให้ใช้คะแนนเฉลี่ยปีปัจจุบันรวมกับระยะห่างของคะแนนปีปัจจุบันกับคะแนนปีที่ผ่านมา เป็นเกณฑ์การตัดสิน
เกณฑ์ในการวิเคราะห์มาตรฐานและสาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุง คะแนนเฉลี่ยของหน่วยงานอื่นๆ ขนาดโรงเรียน ที่ตั้ง จังหวัด ต้นสังกัด ประเทศ อิงกลุ่ม คะแนนเฉลี่ยของสถานศึกษา รายมาตรฐาน รายสาระฯ เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ ค่าคะแนนคงที่สถานศึกษากำหนดขึ้น ฐานข้อมูลเดิมของสถานศึกษา อิงเกณฑ์
การวิเคราะห์มาตรฐานที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อิงเกณฑ์ (คะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50) อิงกลุ่ม สถานศึกษากำหนดเกณฑ์ตัดสิน (Cut score) ที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของสถานศึกษา
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข (คะแนนเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50) อิงเกณฑ์ สถานศึกษากำหนดเกณฑ์ตัดสิน (Cut score) ที่สอดคล้องกับสภาพบริบทของสถานศึกษา อิงกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน (3ปีย้อนหลัง) การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา สาระการเรียนรู้ที่ต้องปรับปรุงเร่งด่วน (3ปีย้อนหลัง) สาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2557 2558 2559 การวัด เรขาคณิต พีชคณิต สาเหตุเกิดจากคุณภาพของผู้เรียน สาเหตุเกิดจากการจัดการเรียนรู้ของครู
วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและ กำหนดแนวทาง การแก้ไข ปัญหา ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของ แต่ละสถานศึกษา (พิจารณาจากสภาพ บริบทต่างๆของสถานศึกษา) - วิเคราะห์หาแหล่งสาเหตุของปัญหา - วิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา - จุดแข็ง/จุดอ่อนของสถานศึกษา - โอกาส/อุปสรรคของสถานศึกษา - กำหนดแนวทางการแก้ปัญหา (สอดคล้องกับสาเหตุของ ปัญหาและบริบทของสถานศึกษา) - จัดทำแผนในการยกระดับคุณภาพ ผู้เรียนของสถานศึกษา
กำหนดกลยุทธ์และแผนในการยกระดับ คุณภาพผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนของสถานศึกษา ที่ สอดคล้องสาเหตุของสภาพปัญหาและบริบท ของสถานศึกษา สถานศึกษา บุคลากร งบประมาณ การบริหารจัดการ สื่ออุปกรณ์ ปัญหากลุ่มสาระฯที่ 1 ปัญหากลุ่มสาระฯที่ 2 ปัญหากลุ่มสาระฯ…. แนวทาง แก้ไขปัญหา แนวทาง แก้ไขปัญหา กลยุทธ์ของสถานศึกษา SWOT ปัญหากลุ่มสาระฯที่ 3 การวิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์สภาพบริบทของสถานศึกษา (SWOT Analysis) ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ ทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ปัจจัย ภายในสถานศึกษา จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) ปัจจัย ภายนอกสถานศึกษา โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats )
ปัญหา Professional Learning Community (PLC) Knowledge Management (KM) แนวทางการแก้ไขปัญหา สาเหตุ การสะท้อนหรือทบทวนการปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) ระหว่างทาง ปลายทาง แนวทางการแก้ไขปัญหา เผยแพร่ แนวทางการแก้ไขปัญหา ปัญหา สรุปผล แนวทางการแก้ไขปัญหา สาเหตุ แนวทางการแก้ไขปัญหา แก้ไข แนวทางการแก้ไขปัญหา Professional Learning Community (PLC) Vision Open mind & Care & Share Leadership Org. Culture Learning Knowledge Management (KM)
Q&A