ยาที่ใช้ในระบบทางเดินหายใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

Pharmaceutical Dosage Forms
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
นพ.สัจจะ อิศรางกูร ณ อยุธยา พญ.เพณณินาท์ โอเบอร์ดอร์เฟอร์
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
Laryngeal disorders ผศ.นพ.ยงยุทธ วศินวงศ์.
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
รศ.(พิเศษ)นายแพทย์ทวี โชติพิทยสุนนท์
แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยอายุรกรรม ติดเชื้อ
Karoon Ramkaroon, Resident 2 nd year. Patient information  หญิงไทย คู่ อายุ 40 ปี  อาชีพ ค้าขาย  ภูมิลำเนา อ. รัษฎา จ. ตรัง  Chief complaint  แน่นหน้าอก.
สถานการณ์ และข้อมูลเกี่ยวกับ Ebola และ MERS COV
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
Upper Airway Obstruction
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
Intern Kittipos Wongnisanatakul
Andrographis paniculata
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
กับการรับมือ นายแพทย์สมศักดิ์ วัฒนศรี
Chapter 7 Nursing Care of the Child with Respiratory System
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
Raviwan Omaree, RN. Infection Control Nurse : ICN Chomethong Hospital
หลักการและเทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
The Child with Respiratory dysfunctionII
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 11 การสุขาภิบาลและโรคสุกร.
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคล กับ ผลประโยชน์ส่วนรวม
The Child with Renal Dysfunction
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
ILI (Influenza Like Illness) กลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
Siriraj Patient Classification
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
The Child with Respiratory dysfunction
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
จัดทำโดย อาจารย์วิษณุ สมัญญา
โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล Rational Drug Use Hospital
Rational Drug Use (RDU)
The Child with Renal Dysfunction
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
Presentation By : Timsaeng2000 CO.,LTD
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา เดือนพฤศจิกายน 2560 จังหวัดน่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยาที่ใช้ในระบบทางเดินหายใจ ผศ. ดร. ภก. เมธิน ผดุงกิจ

โรคระบบทางเดินหายใจ เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ ซึ่งได้แก่ จมูก คอหอย (pharynx) กล่องเสียง (larynx) โพรงอากาศหรือไซนัส (sinuses) หลอดลม (trachea) หลอดลมขั้วปอด (bronchial tube) และปอดเป็นต้น ตัวอย่างโรคที่พบและสาเหตุของโรคในระบบนี้ที่พบบ่อย เช่น โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ

ไข้หวัดเกิดจากเชื้อไวรัส ไข้หวัด (common cold) เป็นโรคที่พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ โดยพบได้ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ไข้หวัดเกิดจากเชื้อไวรัส ซึ่งพบมากกว่า 200 ชนิด คนที่มีสุขภาพอ่อนแอมักจะป่วยเป็นไข้หวัดได้บ่อย ไข้หวัดเกิดจากเชื้อไวรัส -ไข้หวัด ให้ยาตามอาการ -ไข้หวัดไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ

ไข้หวัดใหญ่ เป็นการติดเชื้อไวรัส (influenza visus) ในระบบทางเดินหายใจ ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ปวดตามตัวปวดกล้ามเนื้อมาก ติดต่อได้ง่ายโดยทางการหายใจเช่น ไอหรือจามรดกัน

การดูแลตนเอง : นอนพักผ่อนให้มาก ไม่ควรออกกำลังกายในช่วงนี้ หากมีไข้สูงให้ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัว รับประทานยาแก้ไข้ paracetamol อย่าสั่งน้ำมูกแรงๆ เพราะอาจจะทำให้เชื้อลุกลามได้ หากพบมีอาการไข้สูง หายใจหอบหรือลำบากควรไปพบแพทย์

การป้องกัน : ล้างมือบ่อยๆ อย่าใช้ของส่วนตัวหรือเสื้อผ้า ผ้าเช็ดหน้า ร่วมกับผู้อื่น หลีกเลี่ยง การสัมผัสกับผู้ป่วย เวลาจามหรือไอให้ใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก ส่วนการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่แนะนำให้ฉีดในผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี ผู้ที่มีโรคประจำตัวเช่น โรคไต หัวใจหรือโรคตับ เบาหวาน หญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป

ทอนซิลอักเสบ (tonsillitis) ทอนซิลอักเสบ เป็นภาวะอักเสบของต่อมทอนซิล บางครั้งมักเป็นร่วมกันกับ คออักเสบ (pharyngitis) ซึ่งหมายหมายถึง ภาวะอักเสบของเนื้อเยื่อในลำคอที่อยู่บริเวณหลังช่องปากเข้าไป สาเหตุอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย อาการ : ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ หนาวสั่น เจ็บคอโดยเฉพาะเวลากลืนอาหารหรือกลืนน้ำลาย การติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิดอาจทำให้มีการอักเสบรุนแรงกระจายไปทั่ว ลิ้นไก่แดงมาก และพบตุ่มหนองสีเทาเหลืองบริเวณทอนซิลได้

โรคไซนัสอักเสบ ไซนัส คือ โพรงอากาศที่อยู่ภายในกระดูกบริเวณรอบๆ หรือใกล้กับจมูก ไซนัสอักเสบจึงเป็นการอักเสบของเยื่อบุโพรงอากาศของไซนัส ซึ่งอาจจะอักเสบไซนัสที่เดียวหรือหลายๆที่พร้อมกัน สาเหตุมีหลายประการเช่น ติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียในทางเดินหายใจส่วนบนซึ่งเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด

อาการ : อาการจะคล้ายๆไข้หวัด คือ มีไข้ และเมื่อเชื้อลุกลามเข้าสู่ไซนัสจะมีอาการปวดจมูกหรือแก้ม หรือกระบอกตา น้ำมูกละเสมหะจะมีสีเหลืองหรือเขียว การรักษาโดยแพทย์ : หากเกิดจากการติดเชื้อแพทย์จะให้ยาต้านจุลชีพ

โรคภูมิแพ้ เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายแสดงปฏิกิริยาต่อสิ่งแปลกปลอมมากกว่าหรือไวเกินปกติ จึงทำให้เกิดอาการแพ้ขึ้น เช่น จาม คัดจมูกน้ำมูกไหล

การดูแลตอนเอง : ในการรักษาโรคภูมิแพ้จำเป็นต้องทราบสาเหตุว่าสิ่งที่ทำให้แพ้นั้นคืออะไร เพราะหลักการรักษาโรคภูมิแพ้ที่ดีที่สุดคือหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้นั้นรวมทั้งหลีกเลี่ยงจากภาวะที่กระตุ้นให้อาการกำเริบด้วย แต่ในกรณีที่ทราบสาเหตุแต่หลีกเลี่ยงไม่ได้ อาจจะต้องใช้ยาแก้แพ้ หรือที่เรียกกันว่ายาต้านฮิสตามีน (Antihistamine)

ยาที่เกี่ยวข้องในระบบทางเดินหายใจ

พาราเซตามอล แก้ปวด - ลดไข้ คำเตือน ถ้าใช้ยานี้เกินขนาดที่ระบุไว้บนฉลาก หรือเอกสารกำกับยา จะทำให้เป็นพิษต่อตับได้ และไม่ควรใช้ติดต่อกันเกิน 5 วัน ผู้ที่เป็นโรคตับ โรคไต ควรปรึกษาแพทย์ หรือเภสัชกรก่อนใช้ยานี้

แอสไพริน สรรพคุณ 1) ลดไข้ สรรพคุณ 1) ลดไข้ 2) บรรเทาอาการปวด เช่น ปวดหัว ปวดหู ปวดตา ปวดฟัน ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ปวดข้อ ประจำเดือน ปวดแผล เป็นต้น 3) ต้านการอักเสบ เช่นการอักเสบของข้อ หรือกล้ามเนื้อ เป็นต้น 4) ป้องกันการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดสมอง และหัวใจ

ข้อควรระวังและคำเตือน 1. อาจทำให้เกิดระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร 2. อาจเกิดอาการแพ้ เป็นลมพิษ ผื่นคัน หอบหืดได้ 3. ถ้าใช้ขนาดสูง อาจทำให้หูอื้อ มีเสียงดังในหูได้ 4 .ถ้ากินเกินขนาดมาก ๆ อาจเกิดพิษต่อร่างกาย เกิดภาวะเลือดเป็นกรด ก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้ 6. ทำให้เลือดออกง่าย เพราะยานี้จะยับยั้งการเกาะตัวของเกล็ดเลือด (platelets aggregation) จึงห้ามใช้ ในผู้ป่วยที่สงสัยจะมีเลือดออก เช่น ไข้เลือดออก

ยาเม็ดคลอเฟนิรามีน มาลีเอท (Chlorpheniramine Maleate) ขนาด 2 mg/เม็ด สรรพคุณ : บรรเทาอาการแพ้ เช่น ลมพิษ น้ำมูกไหล

ยาแก้ไอ ก่อนที่จะเลือกใช้ยาแก้ไอ ให้พิจารณาลักษณะการไอ ซึ่งมี 2 แบบ คือ 1. ไอแห้งๆ เกิดจากการระคายเคืองทางเดินหายใจส่วนบน เช่น การแพ้ ไข้หวัด เจ็บคอ 2. ไอแบบมีเสมหะ เกิดจากการที่ระกายต้องการกำจัดสิ่งที่ไม่ต้องการจากทางเดินหายใจส่วนล่าง เช่น เสมหะ หนอง เช่น หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ เป็นต้น ยาแก้ไอ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ยาระงับการไอ (Anti-tussive) ตัวอย่างเช่น ยาแก้ไอน้ำดำ (M. tussis/Brown mixture) เดกซ์โทรเมทอร์แฟน (Dextromethorphan) 2. ยาขับเสมหะ (Expectorant) และ ยาละลายเสมหะ (Mucolytic )

ยาแก้ไอน้ำดำ สรรพคุณ : บรรเทาอาการไอ และช่วยขับเสมหะ คำเตือนและข้อควรระวัง 1) ห้ามใช้ยานี้ในเด็กที่อายุต่ำกว่า 6 ปี คนชรา และหญิงมีครรภ์ 2) ห้ามใช้ยานี้ติดต่อกันนานเกิน 3 วัน 3) ยานี้มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง

ยาปฏิชีวนะ เป็นยาคนละกลุ่มกับ ยาแก้อักเสบ ความหมายของยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) เป็นกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ เป็นยาที่ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งหรือทำลายจุลชีพ เช่นเชื้อแบคทีเรีย ยาปฏิชีวนะส่วนใหญ่ผลิตได้จากเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อรา ยาปฏิชีวนะ เป็นยาคนละกลุ่มกับ ยาแก้อักเสบ ยาปฏิชีวินะ เป็นประเภทยา “ยาอันตราย” ตามกฎหมาย ไม่ควรเรียกซื้อยากินเอง ควรปรึกษาแพทย์แพทย์ หรือเภสัชกร ก่อนใช้ยากลุ่มนี้ทุกครั้ง

ข้อเสียของยาปฏิชีวนะ หากมีการใช้ยาไม่ถูกต้อง 1. ดื้อยา 2. เชื้อที่ดี ถูกทำลายไปด้วย 3. แพ้ หอบหืด 4. ยาปฏิชีวนะบางตัวมีผลต่อยา กลุ่มอื่น เช่น ยาคุมกำเนิด จะทำให้ฤทธิ์ในการคุมกำเนิดลดลง

ไวรัสเมอร์ส (MERS-CoV)

ทำไมชื่อ เมอร์สคอฟ (MERS-CoV) มาจากชื่อเต็มภาษาอังกฤษว่า Middle East respiratory syndrome coronavirus (MERS-CoV) หรือเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ตะวันออกกลาง

ต้นกำเนิดของไวรัสเมอร์สคอฟ ไวรัสชนิดนี้ต้นกำเนิดจากประเทศซาอุดิอาระเบียและยังไม่สามารถระบุได้ แน่ชัดว่ามีต้นกำเนิดจากคนหรือสัตว์หรือเชื้อใด แต่มีผลวิจัยระบุว่าอาจมี แพะเป็นพาหะนำเชื้อ และเป็นเชื้อไวรัสใกล้เคียงไวรัสในค้างคาวสายพันธุ์ หนึ่ง ทั้งนี้วัสเมอร์สเป็นเชื้อไวรัสเดียวกับโรคซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome-SARS) ที่แพร่ระบาดอย่างหนัก ในเอเชียเมื่อปี พ.ศ. 2546

ความร้ายแรงของไวรัสเมอร์สคอฟ ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสเมอร์สจะมีอาการคล้ายเป็นโรคระบบทางเดินหายใจมีไข้สูง ไอ หายใจหอบ หายใจขัด ถ่ายเหลว หากเป็นหนักจะเสียชีวิตทันที ภายใน 3 -4 สัปดาห์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุเพศชาย โดยเชื้อจะอยู่ใน ละอองน้ำมูกน้ำลายผู้ป่วย ติดต่อได้ง่ายจากการไอจาม โดยผู้ป่วย เกือบทั้งหมดร้อยละ 96 มีโรคประจำตัว 1 โรคหรือมากกว่า ได้แก่เบาหวาน รองลงมาคือความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคไต

การป้องกันเบื้องต้นไวรัสเมอร์สคอฟ 1. กินร้อน- ช้อนกลาง- ล้างมือ 2. ใช้ผ้าหรือกระดาษปิดปากเมื่อจาม 3. หลีกเลี่ยงไปสถานที่ที่ผู้คนแออัด 4. สวมหน้ากากอนามัยหากต้องไปสถานที่ที่ผู้คนจำนวนมากโดยเฉพาะช่วงพิธีฮัจญ์ และอุมเราะห์ 5. หมั่นออกกำลังกายและรักษาสุขภาพให้แข็งแรง 6. มาพบแพทย์พร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่หากมีประวัติเดินทางไปประเทศที่มีการระบาดของ เชื้อ ได้แก่ ซาอุดีอาระเบีย การ์ตา จอร์แดน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อังกฤษ ฝรั่งเศส ตูนิเซีย เยอรมนี อิตาลี โอมาน คูเวต มาเลเซีย กรีซ และฟิลิปปินส์

ประเทศที่ยังพบผู้ติดเชื้อไวรัสเมอร์สคอฟอย่างต่อเนื่อง หลังจากเริ่มมีรายงานผู้ป่วยตั้งแต่วันที่20กันยายน 2556 เป็นต้นมายังพบผู้ป่วยอย่าง ต่อเนื่องใน 11 ประเทศ ได้แก่ จอร์แดน ซาอุดีอาระเบีย กาตาร์ อังกฤษ สหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ ฝรั่งเศส ตูนีเซีย เยอรมนี อิตาลี โอมาน และคูเวต ล่าสุดพบผู้ที่เสียชีวิต หลังจากติดเชื้อไวรัสเมิร์สคอฟที่ประเทศฟิลิปปินส์และมาเลเซีย โดยองค์การอนามัย โลกรายงาน ณ วันที่ 16 เมษายน 2557 พบผู้ป่วยยืนยัน 238 ราย เสียชีวิต 92 ราย

หากสงสัยว่าตนเองมีอาการดังกล่าวให้รีบพบแพทย์ทันที ไม่ต้องรอถึง 2 วัน สามารถสอบถามเพิ่มเติม โทรสายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 ตลอด 24 ชั่วโมง