ระบบเลขฐาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher
Advertisements

การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 12.
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
Number System[1] เลขฐาน & ASCII CODE Number System[1]
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
Peopleware & Data บุคลากรและข้อมูล.
EEE 271 Digital Techniques
Digital Logic and Circuit Design
Data representation (การแทนข้อมูล)
Number Representations
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
Addressing Modes Assembly Programming.
BIT & STRING OPERATIONS
Arithmetic Instruction
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
Introduction to Digital System
DATA (in binary Digits)
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร
Computer Coding & Number Systems
ระบบเลขฐาน (Radix Number)
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
CS Assembly Language Programming
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ระบบเลขในคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 ระบบตัวเลข.
รหัสคอมพิวเตอร์.
Introduction to Digital System
ระบบเลขจำนวน ( Number System )
คุณลักษณะของคำสั่งภาษาเครื่อง ชนิดของตัวถูกดำเนินการ
Introduction to Computer Organization and Architecture
โครงการผ่าตัดต้อกระจก ขจัดตาบอดจากต้อกระจก
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Number system (Review)
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 3 ชนิดข้อมูลและการแทนชนิดข้อมูลการประกาศตัวแปร.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Half Adder Full Adder Carry Propagation P คือ Carry Propagate G คือ Carry Generate.
ภาษา C เบื้องต้น.
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การนำเสนอมัลติมีเดียในรูปแบบดิจิตอล(Digital Representation) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
Microcomputer and Assembly Language
หน่วยที่ 2 ระบบมัลติเพล็กซ์ จุดประสงค์การสอน
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี้เบื้องต้น
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
บทที่ 2 แนะนำภาษา C Basic C Program
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
ผู้สอน ครูวัชระ วงษ์ดี
ข้อมูลและสารสนเทศ.
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
[ บทที่ 1 ] ระบบฐานข้อมูล
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเลขฐาน

เลขฐาน หมายถึง กลุ่มข้อมูลที่มีจำนวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐาน นั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจำนวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบหลัก (0-9) ตามลำดับ ดังรูป

ระบบคอมพิวเตอร์มีการใช้ระบบเลขฐาน 4 แบบ ประกอบด้วย 1) ระบบคอมพิวเตอร์มีการใช้ระบบเลขฐาน 4 แบบ ประกอบด้วย      1).เลขฐานสอง (Binary Number)      2).เลขฐานแปด (Octal Number)      3).เลขฐานสิบ (Decimal Number)      4).เลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number)

เลขฐานสอง คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ำกันสองหลัก ( 0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากันได้กับ Hardware ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยากให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมาก เช่น เลขฐานสิบมีตัวเลขที่เป็นสถานะที่ต่างกันถึง 10 ตัว ในขณะที่ระบบไฟฟ้ามีเพียง 2 สถานะ ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆมีเพียงสถานะเดียวเท่านั้น แต่ละหลักของเลขฐานสอง เรียกว่า Binary Digit (BIT)

เลขฐานแปด เลขฐานแปด มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน 3 หลัก แทนด้วยเลขฐานแปด 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 6 บิท แทนด้วยเลขฐานแปด 2 บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง

เลขฐานสิบ คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ำกันสิบหลัก (0,1,2,…,9) เป็นเลขฐานที่มนุษย์คุ้นเคยและใช้ในชีวิตประจำวันมากที่สุด ตัวเลขที่มีจำนวนมากกว่า 9 ให้ใช้ 10 ซึ่งเป็นการกลับไปใช้เลข 1 และ 0 อีก เพียงแต่ค่าของ 1 เปลี่ยนไปเป็น 10 เท่าของตัวมันเอง เช่น 333 (สามร้อยสามสิบสาม) แม้จะใช้ตัวเลข 3 ทั้งหมด แต่ตำแหน่งของตัวเลขย่อมมีความหมายตามตำแหน่งของแต่ละหลักนั้น กล่าวคือ หลักหน่วยน้อยกว่าหลักสิบ 10 เท่า หลักสิบน้อยกว่าหลักร้อย 10 เท่า ตามลำดับ

เลขฐานสิบหก เลขฐานสิบหก มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน 4 หลัก แทนด้วยเลขฐานสิบหก 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 8 บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง

ระบบเลขฐานสอง (Binary) มีตัวเลข 0 และ 1 เช่น 0000 0001 0010 ตำแหน่งของหลักเรียกว่าบิต (Bit มาจาก Binary Digit) โดยบิตขวามือสุดเป็นบิต 0 ซึ่งเรียกว่า LSB (Least Significant Bit) ส่วนบิตซ้ายมือสุดเรียกว่า MSB (Most Significant Bit) Bit7 Bit6 Bit5 Bit4 Bit3 Bit2 Bit1 Bit0 1 0 1 0 1 1 0 0 MSB LSB

ระบบเลขฐานสอง (Binary) ค่าของเลขฐานสองหาได้จากการรวมค่าของจำนวนเลขที่คิดตามตำแหน่งของหลัก คล้ายกับเลขฐานสิบโดยค่าความแตกต่างของหลักมีค่าเพิ่มเป็น 2 เท่าหลักที่ต่ำกว่า ( เลขฐานสิบต่างกัน 10 เท่า) จำนวนของเลขฐานสองหาได้ดังนี้ MSB LSB 0 1 0 0 0 1 1 1 128 64 32 16 8 4 2 1 ค่าที่ได้ = 64 +4+2+1 =71

ระบบเลขฐานสอง (Binary) เลขฐานสองที่มี n บิตจะมีค่า 2 ยกกำลัง n ค่า เช่นเลขฐานสอง ขนาด 2 บิตจะมี 4 ค่า (0 - 3) เลขฐานสองขนาด 4 บิตจะมี 16 ค่า (0 -15) bit1 bit0 ค่า 0 0 0 0 1 1 1 0 2 1 1 3 เลขฐานสองขนาด 2 บิต

ระบบเลขฐานสอง (Binary) ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสองต่อไปนี้ ก) 0 0 1 0 ข) 1001 ค) 00101010 ง) 10110011 ก) 0010 = 2 ข) 1001 = 8 +1 = 9 ค) 00101010 = 32 +8 + 2 = 42 ง) 10110011 = 128 +32+16+2+1 =179

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง ใช้วิธีการหารด้วย 2 ไปเรื่อยจนกว่าจะหารไม่ได้ ผลลัพธ์คือเศษของการหารทุกตัว ตัวอย่างหาค่าของเลขฐานสองจากเลขต่อไปนี้ 6 ,11,97 2 ) 11 = 5 เศษ 1 2 ) 5 = 2 เศษ 1 2 ) 2 = 1 เศษ 0 2 ) 1 = 0 เศษ 1 2 ) 6 = 3 เศษ 0 2 ) 3 = 1 เศษ 1 2 ) 1 = 0 เศษ 1 6 = 0110 11 = 1011

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง 97 = 01100001 หาค่าของเลขฐานสองจากเลขฐานสิบค่า 97 2 ) 97 = 48 เศษ 1 2 ) 48 = 24 เศษ 0 2 ) 24 = 12 เศษ 0 2 ) 12 = 6 เศษ 0 2 ) 6 = 3 เศษ 0 2 ) 3 = 1 เศษ 1 2 ) 1 = 0 เศษ 1 (bit 0)

หน่วยของเลขฐานสอง 1 Byte 4 Bit = 1 Nibble 1 0 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 8 Bit = 1 Byte หรือ 1 Character Hi Nibble Low Nibble 2 Byte = 1 Word 10 1 KByte = =1024 Byte 2 20 1 Mbyte = =1024 * 1024 Byte 2 30 1 GByte = =1024 * 1024 * 1024 Byte 2

การบวกเลขฐานสอง จะทำการบวกครั้งละบิตโดยเริ่มจากบิตต่ำซึ่งอยู่ทางขวามือก่อน และจะมีการทดไปบิตสูงเมื่อบวกกันแล้วได้ค่าเกิน 1 1100 + 0010 1001 + 0001 01011001 + 00111101 =12 =9 =2 =1 10010110 1110 1010 =10 =14

การบวกเลขฐานสอง หาผลบวกของเลขฐานสองต่อไปนี้ 11110011 + 00011111 01011111 + 00111101 00000111 100010010 10100011

การลบเลขฐานสอง การลบจะทำการลบครั้งละบิตโดยเริ่มจากบิตต่ำซึ่งอยู่ทางขวามือก่อน และจะมีการยืมจากบิตสูงเมื่อตัวตั้งน้อยกว่า ค่าที่ยืมมาจะมีค่าเป็น 2 0110 - 0001 01011111 - 00111101 1100 - 0111 00100010 0101 0101

การคูณเลขฐานสอง การคูณจะคูณคล้ายกับเลขฐานสิบ 01011111 * 00001110 0110 * 0011 0110 * 0001 01011111 0110 10010 0110 10100110010

การหารเลขฐานสอง ใช้วิธีการตั้งหารดังตัวอย่าง 0 1 0 0 0 1 0 เศษ 1 11 ) 1 1 0 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 0 1

ชนิดของเลขฐานสอง (Binary) ระบบเลขฐานสองแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ แบบไม่คิดเครื่องหมาย(Unsigned Binary) รหัส BCD (Binary Code Decimal) แบบคิดเครื่องหมาย (Signed Binary)

Unsigned Binary ค่าที่ได้ = 64 + 4 + 2 +1 = 71 0 1 0 0 0 1 1 1 เป็นเลขที่ไม่คิดเครื่องหมายมีค่าเป็นจำนวนบวกอย่างเดียว โดยค่าของจำนวนเลข คิดตามตำแหน่งของหลักคล้ายกับเลขฐานสิบโดยค่าของจำนวนหาได้ดังนี้ MSB LSB 0 1 0 0 0 1 1 1 128 64 32 16 8 4 2 1 ค่าที่ได้ = 64 + 4 + 2 +1 = 71

Binary Code Decimal (BCD) เป็นการใช้รหัสของเลขฐานสอง 4 บิตแทนเลขฐานสิบ 1 หลัก ดังนั้นหากมีเลขฐานสอง 8 บิตจะแทนเลขฐานสิบได้ 2 หลักดังเช่น 0 1 0 0 0 1 1 1 8 4 2 1 8 4 2 1 4 7

Binary Code Decimal (BCD) ก) 00110100 ข) 01101001 ค) 100100100010 ง) 0100110111 ก) 00110100 = 34 ข) 01101001 = 69 ค) 100100100010 = 922 ง) 0100110111 = 137

Binary Code Decimal (BCD) ก) 35 ข) 14 ค) 162 ง) 248 ก) 35 = 00110101 ข) 14 = 00010100 ค) 162 = 000101100010 ง) 248 = 001001001000

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) เป็นการใช้งานเลขฐานสองแบบมีเครื่องหมายรวมอยู่ด้วย โดยกำหนดบิตซ้ายมือสุดคือบิตเครื่องหมาย หากบิตซ้ายมือสุดมีค่าเป็น 1 แสดงว่าเป็นค่าลบ เป็น 0 แสดงว่าเป็นค่าบวก ส่วนบิตที่เหลือเป็นค่าของจำนวน 0 1 0 0 1 0 1 0 มีค่าเป็น บวก บิทเครื่องหมาย มีค่าเป็นลบ 1 0 1 0 1 0 1 0

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) ตัวอย่างของเลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมายขนาด 3 บิต (0) 000 000 001 010 011 100 101 110 111 1 2 3 -4 -3 -2 -1 001 111 (+1) บวก (- 1) 010 110 (+2) (- 2) ลบ 011 101 (+3) (- 3) 100 (- 4)

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) ตัวอย่างของเลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมายขนาด 4 บิต 0 0 0 0 = 0 0 0 0 1 = 1 0 0 1 0 = 2 0 0 1 1 = 3 0 1 0 0 = 4 0 1 0 1 = 5 0 1 1 0 = 6 0 1 1 1 = 7 1 0 0 0 = - 8 1 0 0 1 = - 7 1 0 1 0 = - 6 1 0 1 1 = - 5 1 1 0 0 = - 4 1 1 0 1 = - 3 1 1 1 0 = - 2 1 1 1 1 = - 1

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) กรณีที่เป็นค่าบวกบิตซ้ายมือสุดเป็น 0 บิตที่เหลือจะคิดเป็นจำนวนได้เช่นเดียวกับเลข ฐานสองแบบไม่คิดเครื่องหมายดังตัวอย่าง ก) 0010 = 2 ข) 0101 = 4+1 = 5 ค) 00101010 = 32 +8 + 2 = 42 ง) 01111111 = 64+32+16+8+4+2+1 =127

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) กรณีที่เป็นค่าลบบิตซ้ายมือสุดเป็น 1 การหาเลขฐานสองของจำนวนที่เป็นลบใช้วิธีการนำเลขจำนวนบวก มาทำ 2’s Complement ซี่งมีขั้นตอนดังนี้ ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสองจำนวนต่อไปนี้ - 3 และ -9 ค่าของ 3 เท่ากับ 0011 1) นำเลขฐานสองมาทำ Complement โดยการเปลี่ยนบิตเป็นตรงข้าม 0011 เปลี่ยนเป็น 1100 2) บวกผลลัพธ์ในข้อ 1 ด้วย 1 จะได้ผลลัพธ์เป็นจำนวน 1100 +1 = 1101 ดังนั้น -3 = 1101

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) หาค่าของเลขฐานสองของ -9 ค่าของ 9 เท่ากับ 00001001 1) นำเลขฐานสองมาทำ Complement โดยการเปลี่ยนบิตเป็นตรงข้าม 00001001 เปลี่ยนเป็น 11110110 2) บวกผลลัพธ์ในข้อ 1 ด้วย 1 จะได้ผลลัพธ์เป็นจำนวน 11110110 +1 = 11110111 ดังนั้น - 9 = 11110111

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมายจากเลขฐานสิบต่อไปนี้ ก) - 7 ข) -24 ค) -100 ง) - 130 ก) 7 = 0111 ; 1000+1 = 1001 - 7 = 1001 ข) 24 = 00011000 ; 11100111+1 = 11101000 -24 = 11101000 ค) 100 = 01100100 ; 10011011+1 = 10011100 -100 = 10011100 ง) 130 = 010000010 ;101111101 +1 =101111110 -130 = 101111110

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย(Signed Binary) ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมายต่อไปนี้ ก) 0010 ข) 1001 ค) 00101010 ง) 10110011 ก) 0010 = 2 ข) 1001 = -7 ค) 00101010 = 32 +8 + 2 = 42 ง) 10110011 = - 77

เลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมาย ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสิบจากเลขฐานสองแบบคิดเครื่องหมายต่อไปนี้ ก) 11110010 ข) 11111111 ค) 11110000 ง) 10000001 ก) 11110010 = -14 ข) 11111111 = -1 ค) 11110000 = -16 ง) 10000001 = - 127

ระบบเลขฐานสิบหก (Hexa Decimal) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ฐานสอง 0000 0001 0010 0011 0100 0101 0110 0111 1000 1001 1010 1011 1100 1101 1110 1111 ฐานสิบหก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ประกอบด้วยตัวเลข 0-9 และตัวอักษร A ,B,C,D,E,F ซึ่งเกิดจากการรวมเลขฐานสองเป็นกลุ่มละ 4 บิต เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานและการจำ ความสัมพันธ์ของเลขฐานสิบหก ฐานสองและฐานสิบเป็นดังนี้

ระบบเลขฐานสิบหก (Hexa Decimal) การเขียนค่าของตัวเลข ฐานสิบหกจะใช้ ตัวอักษร H กำกับต่อจากค่าเพื่อแสดงว่าเป็นเลขฐานสิบหก ส่วนเลขฐานสองจะใช้ B กำกับ เลขฐานสิบไม่มีตัวอักษรกำกับดังเช่น 1010B เป็นเลขฐานสอง 1010H เป็นเลขฐานสิบหก 1010 เป็นเลขฐานสิบ

การแปลงเลขฐาน 8,16 เป็นเลขฐาน 2 ถ้าเป็นเลขฐาน 8 ให้แทนเลขแต่ละตัวด้วยฐาน 2 จำนวน 3 bit เช่น 23.28 010 011 010 =10011.012 ถ้าเป็นเลขฐาน 16 ให้แทนเลขแต่ละตัวด้วยฐาน 2 จำนวน 4 bit เช่น 13.416 0001 0011 0100 = 10011.012 สำหรับการแปลงจากฐาน 8 เป็น ฐาน 16 หรือจากฐาน 16 ให้เป็นฐาน 8 ให้ทำการแปลงเป็นฐาน 2 ก่อน แล้วจึงแปลงจากฐาน 2 เป็นฐานที่ต้องการ เช่น 25.28 = 010 101. 010 = 01 0101.0100 = 15.4 16

การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบ ค่าของเลขฐานสิบหกจะมีค่าตามตำแหน่งของหลักโดยค่าจะเป็น 16 เท่าของหลักต่ำ ดังนี้ 1 2 4 256 16 1 ค่าของเลขฐานสิบหกหาได้จากการนำค่าในตำแหน่งคูณกับค่าประจำหลัก ดังนั้นค่าของ 124H = 1 x 256 +2 x 16 + 4 = 296

การแปลงเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบ ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสิบจากเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ ก) 11H ข) 1CH ค) A2H ก) 11H = 1*16 + 1*1 = 17 ข) 1CH = 1*16 + 12*1 = 28 ค) A2H = 10*16 + 2*1 = 162

การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก ตัวอย่าง หาค่าของเลขฐานสิบหกจากเลขฐานสองต่อไปนี้ ก) 01101011B ข) 11111110B ค) 10101010B ก) 01101011B = 6BH ข) 11111110B = FEH ค) 10101010B = AAH

การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสิบหก ใช้วิธีการหารด้วย 16 ไปเรื่อยจนกว่าจะหารไม่ได้ ตัวอย่างหาค่าของเลขฐานสิบหกจากเลขฐานสิบต่อไปนี้ 22 ,48,138 16 ) 22 1 เศษ 6 16 ) 48 3 เศษ 0 16 ) 138 8 เศษ 10 22 = 16H 48 = 30H 138 = 8AH

การบวกเลขฐานสิบหก 12H + 19H 48H + 19H 1FH + 1BH 61H 3AH 2BH ทำการบวกเริ่มต้นจากหลักขวามือก่อนและจะทำการทดไปยังหลักสูงเมื่อมีค่าเกิน 15 ตัวอย่าง หาค่าผลบวกของเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ 12H + 19H 48H + 19H 1FH + 1BH 61H 3AH 2BH

การลบเลขฐานสิบหก 1FH - 19H 42H - 15H FAH - 1BH 06H 2DH DFH ทำการลบจากหลักขวามือก่อนและจะทำการยืมเมื่อตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ การยืมจะยืมจากหลักสูงมา 1 ซึ่งจะกลายเป็น 16 ในหลักที่กำลังลบกัน ตัวอย่าง หาค่าของการลบเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ 1FH - 19H 42H - 15H FAH - 1BH 06H 2DH DFH

เลขฐานสิบหก คำถาม หาค่าของเลขฐานสิบจากเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ 1) A0H คำถาม หาค่าของเลขฐานสิบจากเลขฐานสิบหกต่อไปนี้ 1) A0H 2) 18H 3) 7FH 4) FFH 5) FFFFH 6) 03FFH 7) 1000H