ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษและ การบริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว ดร.สมพร หวานเสร็จ ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนพิบูลประชาสรรค์
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 ที่มา : นันทา อ่วมกุล และคณะ 17 กันยายน 2551 พัฒนาการของเด็กปฐมวัยแรกเกิด – 5 ปี พ.ศ. 2542, 2547, 2550 พ.ศ. ร้อยละ * ประเมินโดยเครื่องมือ Denver II Child Health Situation Analysis : Are we serving the need? 2
โรคภูมิแพ้ โรคติดเชื้อ 43% ที่อยู่ใน รพ 1. ระบบทางเดินหายใจ หอบหืด 12% โรคติดเชื้อ 43% ที่อยู่ใน รพ 1. ระบบทางเดินหายใจ 2. ไข้เลือดออก โรคภูมิแพ้ หอบหืด 12% แพ้อากาศ 21% ภูมิแพ้ผิวหนัง 9.6% ปัญหาสายตา 6.2 – 8.7% Conductive loss 3.9 – 6.1% otitis media impact cerumen ฟันผุ 57% DMFT 1.55 ซี่/คน แปรงฟันที่ ร.ร.ลดลง, ได้รับ บริการเคลือบร่องฟันต่ำมาก เด็ก กทม.ฯ 6.6% ขาดเรียนเพราะปวดฟัน เฉลี่ย 4.7 วัน ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ
การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิการให้ประสบผลสำเร็จ คนรอบข้างมีความเชื่อว่าเด็กมีความสามารถ ไร้ขอบเขตและทำให้เด็กเชื่อว่าตนเองมีความสามารถอย่างไร้ขอบเขตเหมือนกัน
การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม การให้ความช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม คือ การพัฒนาศักยภาพตั้งแต่แรกเกิดหรือแรกพบความพิการผ่านกระบวนการที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ และดำเนินชีวิตอยู่ในสังคม เป็นภาระแก่ผู้อื่นน้อยที่สุด โดยสนับสนุนสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ปรับสภาพแวดล้อม ที่ลดอุปสรรคทั้งภายในและภายนอกศูนย์ฯ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับเป้าหมายในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
กิจกรรมการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม เป้าหมาย ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ทักษะชีวิต กิจกรรม กิจวัตรประจำวัน เรียน นันทนาการ 6
กิจกรรมการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม การทำความสะอาดตนเอง การรับประทานอาหาร การแต่งกาย การดูแลตนเองเบื้องต้น กิจวัตรประจำวัน การเดินทาง การซื้อของ การทำงานบ้าน การประกอบอาหาร การเตรียมกิจกรรม การดำเนินชีวิตอย่างอิสระ การสื่อสาร ความเข้าใจและการใช้ภาษา 2. เรียน สังคม การเล่นและการสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่างกาย การเคลื่อนไหว การทรงตัว การใช้มือ การพักผ่อน การนอน การเล่น 3. นันทนาการ การพัฒนาสุนทรียภาพ กิจกรรมยามว่าง งานอดิเรก
กิจกรรมการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม ผู้เรียน หมอ ครู พ่อแม่
การช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม หลักการ ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการจัดการศึกษาอย่างเท่าเทียมตามกฎหมาย ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และได้รับประโยชน์จากการศึกษา ศูนย์ฯต้องปรับเปลี่ยน...ตามความต้องการจำเป็นของผู้เรียนมากกว่าให้ผู้เรียนปรับตามสภาพของศูนย์ฯ ผู้เรียนทุกคนเรียนรู้ได้โดยผ่านหลักสูตรที่เหมาะสม
การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มที่มีประสิทธิภาพ ครูมีองค์ความรู้ ในด้านการวิเคราะห์ผู้เรียน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความแตกต่าง การวัดประเมินผลตามสภาพจริง เชื่อมต่อสายสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับศูนย์ฯ การเตรียมความพร้อมของผู้เรียนพิเศษ ด้านทักษะการดำเนินชีวิตในสังคม เตรียมความพร้อมผู้เรียนและบุคลากร ก่อนการเรียนร่วม ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน และจัดหาสื่อ สิ่งอำนวยความสะดวก ที่จำเป็นในแผนการ จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม ปัจจัยสนับสนุนความสำเร็จ สัมพันธภาพระหว่างบ้านกับศูนย์ฯ ความร่วมมือของครูการศึกษาพิเศษ ครูทั่วไปและนักการศึกษา สร้างแผนการจัดการศึกษาที่สอดคล้อง กับผู้เรียนและสามารถปฏิบัติได้ การสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนของทีมงาน ความสามารถในการวางแผนที่ดีของทีมงาน การฝึกอบรมและพัฒนาตนเองของบุคลากร Your site here Company Logo