สมการเชิงเส้น (Linear equation)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การใช้งานโปรแกรม SPSS
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
z-1= จำนวนเชิงซ้อน ทฤษฏี z=a+bi z=a-bi z+z = a+bi+a-bi =2a
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
พื้นที่ผิวของพีระมิด
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
โครงสร้างภาษา C Arduino
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (stack)
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
ความดัน (Pressure).
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมการเชิงเส้น (Linear equation) สมการเชิงเส้นคือสมการที่สามารถถูกจัดรูปได้ในรูปแบบต่อไปนี้คือ เมื่อ และ B เป็นจำนวนจริงใดๆ และ x ที่ตัวแปร ที่เราต้องการทราบค่า สมการเชิงเส้น เป็นรูปแบบของระบบสมการที่ง่ายที่สุดที่สามารถหาผลเฉลยได้

สมการเชิงเส้นที่มีตัวแปรมากกว่า 1

สังเกตว่าสมการ 1 ตัวแปรเชิงเส้นมีลักษณะเป็น ซึ่งสามารถหาผลเฉลยได้ง่ายคือ แต่สำหรับสมการเชิงเส้นที่มีตัวแปรมากกว่า 1 กลับมาความ ยุ่งยากให้การหาผลเฉลย

ในทางคณิตศาสตร์ จึงพยายามจัดรูปให้สมการเชิงเส้นหลาย ตัวแปรอยู่ในลักษณะคล้ายกับรูปแบบของสมการเชิงเส้น 1 ตัวแปร โดยเนื้อหาที่เราจะได้ศึกษาต่อไปนี้จะนำไปสู่สิ่งที่ ต้องการได้

เมทริกซ์ (matrix) (pl. matrices) เมทริกซ์เป็นรูปแบบหนึ่งของคณิตศาสตร์ ซึ่งมันถูก เขียนอยู่ในรูป หรือ

m แถว (row) n หลัก(หรือสดมภ์) (column) เราใช้สัญลักษณ์ aij แทนส่วนประกอบ (component) ในแถว i หลัก j โดย aij อาจจะเป็นจำนวนนับ จำนวนเต็ม หรือจำนวนจริง ก็ได้

เราเรียกเมทริกซ์ที่มีจำนวนแถว m แถวและหลัก n หลัก ว่าเมทริกซ์ขนาด mxn (m by n matrix) เป็นเมทริกซ์ขนาด เป็นเมทริกซ์ขนาด เป็นเมทริกซ์ขนาด เป็นเมทริกซ์ขนาด

เราเรียกเมทริกซ์ที่มีจำนวนหลักเท่ากับจำนวนแถวว่า เมทริกซ์จัตุรัส (square matrix) เมทริกซ์จัตุรัสขนาด เมทริกซ์จัตุรัสขนาด เมทริกซ์จัตุรัสขนาด

การเท่ากันของเมทริกซ์ เมทริกซ์ 2 เมทริกซ์จะเท่ากันได้ก็ต่อเมื่อ 1. เมทริกซ์ทั้งสองมีขนาดเท่ากัน 2. แต่ละส่วนประกอบที่ประจำหลักและแถวเดียวกัน ต้องมีค่าเท่ากัน

การบวกและลบกันของเมทริกซ์ การบวกและลบกันของเมทริกซ์ 2 เมทริกซ์จะทำได้ ก็ต่อเมื่อ เมทริกซ์ทั้ง 2 มีขนาดเดียวกัน และผลลัพท์ที่ได้เป็นเมทริกซ์ที่มีขนาดเท่าเดิม และ แต่ละส่วนประกอบมีค่าเท่ากันกับ ผลรวม (หรือผลต่าง) ของส่วนประกอบของเมทริกซ์ทั้งสองที่อยู่แถวและหลัก เดียวกัน

คุณสมบัติบางประการของเมทริกซ์ ถ้าให้ A,B และ C แทนเมทริกซ์ที่มีขนาด mxn แล้ว 1. (สลับที่การบวก) 2. (เปลี่ยนกลุ่มการบวก) 3. (เอกลักษณ์การบวก) เมื่อ m แถว n หลัก

4. (ผกผันการบวก) นั้นคือถ้า แล้ว

5. การคูณเมทริกซ์ด้วยจำนวนจริง นั้นคือถ้า แล้ว

ตัวอย่าง

แบบฝึกหัด กำหนดให้ 1. จงหาค่า 2A-3B 2. จงหาค่า 10A- B

B เป็นเมทริกซ์ขนาด pxq การคูณเมทริกซ์ ถ้า A เป็นเมทริกซ์ขนาด mxn B เป็นเมทริกซ์ขนาด pxq เราจะหาผลคูณของเมทริกซ์ A และ B ได้โดย ABจะหาได้ก็ต่อเมื่อ n=p BAจะหาได้ก็ต่อเมื่อ m=q

ข้อสังเกต

ตัวอย่าง จงหา AB และ BA

สังเกตว่าในการคูณเมทริกซ์ไม่สามารถสลับที่ได้

แบบฝึกหัด กำหนดให้ จงหา A(BC) และ (AB)C

สังเกตว่าในการคูณเมทริกซ์สามารถเปลี่ยนกลุ่มได้

จงหา A(B+C) และ AB+AC (B+C)A และ BA+CA

แบบฝึกหัด กำหนดให้ จงหา (หรือก็คือ )

เมทริกซ์เอกลักษณ์ (identity matrix) เมทริกซ์เอกลักษณ์ เป็นเมทริกซ์จัตุรัสซึ่งเมื่อคูณเมทริกซ์ อื่นที่มีขนาดเท่ากันแล้วได้เมทริกซ์นั้น

เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ของเมทริกซ์ขนาด 4x4 กำหนดให้ จงหา เมื่อ เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ของเมทริกซ์ขนาด 4x4

ตัวกำหนดของเมทริกซ์ (determinant) ตัวกำหนด เป็นฟังก์ชันที่ส่งจากเมทิรกซ์จัตุรัส (เมทริกซ์ ขนาด nxn)ไปยังจำนวนจริง สำหรับตัวกำหนดของเมทริกซ์ A มักใช้สัญลักษณ์ det A หรือ

= a det = ad-bc det = aei-afh-bdi+bfg+cdh-ceg det

แบบฝึกหัด จงหาตัวกำหนดของเมทริกซ์ต่อไปนี้ 1. 2. 3.

เมทริกซ์ผกผัน (inverse matrix) สำหรับเมทริกซ์จัตุรัสที่มีตัวกำหนดมีค่าไม่เป็นศูนย์ จะมีเมทริกซ์ที่เกี่ยวข้องกับเมทริกซ์ดังกล่าวโดยมีคุณสมบัติคือเมื่อนำไปคูณกับเมทริกซ์นั้นแล้วได้เอกลักษณ์ เราจะสามารถหาเมทริกซ์ดังกล่าวได้เสมอ และมีเพียงหนึ่งเดียว โดยจะเรียกเมทริกซ์นั้นว่า เมทริกซ์ผกผัน

เราใช้สัญลักษณ์ A-1 แทนเมทริกซ์ผกผันของ A

กำหนดให้ มีค่าเท่าใด จึงทำให้เมทริกซ์ ไม่สามารถหาเมทริกซ์ผกผัน ( ) ได้

จงหา กำหนดให้

สรุปการคูณเมทริกซ์ 1. 2. 3. A(B+C) = AB+AC และ 4. (B+C)A = BA+CA

แบบฝึกหัด 1.กำหนดให้ และ 1.1 จงหา 1.2 จงหา

2. กำหนดให้ 2.1 จงหาค่า 2.2 จงหาค่า