บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
Advertisements

สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
ความคิดพื้นฐานทางการวิจัย
Magic Gas Group 5 Uniworld Indicator Magic Gas Group 5 Uniworld IndicatorM.1/5.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
ขั้นตอนการทำวิจัย และ การเขียนโครงร่างวิจัย รศ.ดร. ธวัชชัย วรพงศธร
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวัดและประเมินผลการศึกษา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางสถิติในด้านสังคมศาสตร์ (The Application of Statistical Package in Social Sciences) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสมมติฐาน ตัวแปร ข้อมูล.
การทดสอบสมมติฐาน.
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
Training for SPSS BY Assist. Prof. Benchamat Laksaniyanon, Phd
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย.
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์3
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
งานวิจัย.
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน

ขอบเขตเนื้อหา ตัวแปร ประเภทของตัวแปร การวัดตัวแปร การควบคุมตัวแปร ความหมาย ประเภทของตัวแปร การวัดตัวแปร ระดับการวัดตัวแปร วิธีการวัดตัวแปร การควบคุมตัวแปร

สมมติฐาน ความหมาย ลักษณะของสมมติฐาน ประโยชน์ของสมมติฐาน ประเภทของสมมติฐาน ขั้นตอนการตั้งสมมติฐาน ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐาน

3.1 ตัวแปร (Variable) 3.1.1 ความหมาย ตัวแปร (variable) หมายถึง คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ ที่มีความผันแปรในกลุ่มบุคคลหรือสิ่งที่ต้องการศึกษา ตัวแปรจึงเป็นสิ่งที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา จัดกระทำ สังเกต หรือ ควบคุม ตัวคงที่ (Constant) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่เหมือนกันในกลุ่มบุคคลหรือสิ่งที่ศึกษา

3.1.2 ประเภทของตัวแปร แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (The causal relationship) แบ่งตามแบบการวิจัย (The design of the study) แบ่งตามหน่วยของการวัด (The unit of measurement)

แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (The causal relationship) ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น (Independent variable) เป็นตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อนและเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลตามมา ตัวแปรตาม (Dependent variable) เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น

เป็นตัวแปรอิสระที่ไม่ต้องการศึกษา แบ่งเป็น ตัวแปรเกิน (Extraneous) เป็นตัวแปรอิสระที่ไม่ต้องการศึกษา แบ่งเป็น ตัวแปรลักษณะทางกาย (Organismic variable) เป็นตัวแปรอิสระที่แสดงรูปหรือลักษณะทางกายของกลุ่มตัวอย่างบุคคลที่ต้องการศึกษา ซึ่งเป็นตัวแปรทางกายภาพที่ไม่สามารถจัดกระทำหรือ เปลี่ยนแปลงได้ เช่น เพศ อายุ ภูมิลำเนา วุฒิการศึกษา

ตัวแปรลักษณะแวดล้อม (Environmental variable) เป็นตัวแปรที่มีลักษณะแวดล้อมบุคคลที่ศึกษา เป็นตัวแปรทางกายภาพที่ไม่สามารถจัดกระทำหรือเปลี่ยนแปลงได้ในการวิจัย เช่น ประเภทโรงเรียน ขนาดของโรงเรียน ลักษณะที่ตั้งโรงเรียน

ตัวแปรแทรกซ้อน (Intervening variable) เป็นตัวแปรอิสระที่เป็นลักษณะภายในของกลุ่มตัวอย่างบุคคลที่ต้องการศึกษา หรือสภาพแวดล้อมซึ่งไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง ในการวัดต้องสรุปอ้างอิงจาก พฤติกรรมที่สังเกตได้หรือสิ่งที่ปรากฏภายนอก เช่น ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความวิตกกังวล แรงจูงใจ ฯลฯ

ตัวแปรแทรกซ้อน แบ่งออกเป็น Moderator Variable เป็นตัวแปรที่ส่งผลร่วมหรือมีปฏิสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระที่ต้องการศึกษา Confounded Variable เป็นตัวแปรที่ส่งผลร่วมกับตัวแปรอิสระที่ต้องการศึกษาต่อตัวแปรตาม เป็นตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม

(The design of the study) แบ่งตามแบบการวิจัย (The design of the study) กรณีที่แบบการวิจัยเป็นเชิงทดลองและกี่งทดลอง Active Variables เป็นตัวแปรที่จัดกระทำ เปลี่ยนแปลง และควบคุมได้ เช่น รูปแบบการสอน การบริการต่างๆ Attribute Variables เป็นตัวแปรที่จัดกระทำ เปลี่ยนแปลง และควบคุมไม่ได้ เช่น อายุ เพศ ศาสนา

แบ่งตามหน่วยของการวัด (The unit of measurement) พิจารณาจากลักษณะความต่อเนื่องของข้อมูล Continuous Variables ตัวแปรต่อเนื่อง เป็นตัวแปรที่มีค่าต่อเนื่องกัน เช่น รายได้ อายุ น้ำหนัก

Categorical Variables ตัวแปรจัดกลุ่ม constant ตัวแปรที่มีเพียงค่าเดียว dichotomous ตัวแปรที่แปรค่าได้เพียง 2 ค่า เช่น ชาย/หญิง ร้อน/หนาว รวย/จน polytomous ตัวแปรที่แปรค่าได้ มากกว่า 2 ค่า เช่น ระดับความพึงพอใจ (มาก ปานกลาง น้อย )

พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล Qualitative Variables ตัวแปรเชิงคุณภาพ เช่น เพศ ระดับการศึกษา Quantitative Variables ตัวแปรเชิงปริมาณ เช่น อายุ รายได้ อุณหภูมิ

3.1.3 การวัดตัวแปร ระดับของการวัด Nominal Scale Ordinal Scale 3.1.3 การวัดตัวแปร ระดับของการวัด Nominal Scale Ordinal Scale Interval Scale Ratio Scale

วิธีการวัดตัวแปร การนิยามตัวแปร นิยามเชิงมโนทัศน์ (Conceptual Definition) เป็นการอธิบายความหมายของตัวแปรในเชิงทฤษฎี มีลักษณะเป็นนามธรรม ไม่สามารถวัดได้โดยตรง เป็นการให้นิยามตัวแปรตามพจนานุกรม

นิยามเชิงปฏิบัติการ (Operational Definition) เป็นการอธิบายความหมายของตัวแปรในเชิง รูปธรรม โดยการกำหนดเงื่อนไขที่สามารถนำไปปฏิบัติหรือสังเกตได้โดยตรง

3.2 สมมติฐาน (Hypothesis) 3.2.1 ความหมาย คำตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่าง สมเหตุสมผลต่อปัญหาที่ศึกษาและเขียนอยู่ในลักษณะของข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของ ตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป

3.2.2 ลักษณะของสมมติฐาน มีความชัดเจนและเฉพาะเจาะจง ทดสอบได้ มีขอบเขตไม่กว้างเกินไป สอดคล้องกับความเป็นจริงที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา

ใช้คำง่ายๆ ให้ความหมายแจ่มชัดแก่บุคคลทั่วไป สามารถทดสอบได้ภายในระยะเวลาหรืองบประมาณที่มีอยู่

ช่วยจำกัดขอบเขตและทำให้ปัญหาวิจัยชัดเจนขึ้น 3.2.2 ประโยชน์ของสมมติฐาน ช่วยจำกัดขอบเขตและทำให้ปัญหาวิจัยชัดเจนขึ้น ช่วยคัดเลือกข้อมูลที่จะนำมาศึกษาให้ตรงประเด็น ช่วยระบุตัวแปรที่จะศึกษา ช่วยออกแบบการวิจัย ช่วยกำหนดขอบเขตในการตีความหมายและสรุปผลการวิจัย

สมมติฐานทางการวิจัย สมมติฐานทางสถิติ 3.2.3 ประเภทของสมมติฐาน (Research Hypothesis) สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis)

สมมติฐานทางการวิจัย เป็นสมมติฐานที่เขียนอยู่ในรูปของข้อความที่อธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษา เป็นสมมติฐานที่ระบุไว้ในรายงานการวิจัย

การเขียนสมมติฐานทางการวิจัย สมมติฐานแบบมีทิศทาง (Directional Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่ระบุทิศทางความสัมพันธ์ของตัวแปรว่าสัมพันธ์ในทางใด (บวกหรือลบ) หรือระบุถึงทิศทางของความแตกต่าง (มากกว่า-น้อยกว่า)

การเขียนสมมติฐานทางการวิจัย (ต่อ) สมมติฐานแบบไม่มีมีทิศทาง (Nondirectional Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่ไม่ได้ระบุทิศทางความสัมพันธ์ของตัวแปรหรือทิศทางของความแตกต่าง เพียงระบุว่าตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธ์กันหรือมีคุณลักษณะแตกต่างกัน

ตัวอย่าง การเขียนสมมติฐานทางการวิจัย ตัวอย่าง การเขียนสมมติฐานทางการวิจัย สมมติฐานแบบมีทิศทาง นักเรียนห้องที่ใช้วิธีสอน ก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าห้องที่ใช้วิธีสอน ข สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง นักเรียนห้องที่ใช้วิธีสอน ก ห้องและห้องที่ใช้วิธีสอน ข มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน

สมมติฐานทางสถิติ เป็นสมมติฐานที่เขียนเปลี่ยนรูปมาจากสมมติฐานทางการวิจัยให้อยู่ในรูปของโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ โดยใช้สัญลักษณ์ที่แทนคุณลักษณะของประชากรที่เรียกว่า ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) มาเขียนอธิบายความสัมพันธ์หรือความความแตกต่างของตัวแปร

การเขียนสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานเป็นกลางหรือสมมติฐานศูนย์ (Null Hypothesis: Ho) เป็นสมมติฐานที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยระบุว่าตัวแปร 2 ตัวนั้นไม่มีความสัมพันธ์กัน หรือคุณลักษณะของสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน

การเขียนสมมติฐานทางสถิติ (ต่อ) สมมติฐานไม่เป็นกลางหรือสมมติฐานทางเลือก (Alternative Hypothesis: H1) เป็นสมมติฐานที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยระบุทิศทางความสัมพันธ์ของตัวแปร หรืออธิบายคุณลักษณะของสองกลุ่ม โดยระบุว่ากลุ่มใดมีคุณลักษณะนั้นสูงกว่า-ต่ำกว่า มากกว่า-น้อยกว่า อีกกลุ่มหนึ่ง

ตัวอย่าง การเขียนสมมติฐานทางสถิติ ตัวอย่าง การเขียนสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐานการวิจัย 1 นักเรียนห้องที่ใช้วิธีสอน ก มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกว่าห้องที่ใช้วิธีสอน ข สมมติฐานทางสถิติ Ho: 1 = 2 H1: 1 > 2

สมมติฐานการวิจัย 2 นักเรียนห้องที่ใช้วิธีสอน ก ห้องและห้องที่ใช้วิธีสอน ข มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติ Ho: 1 = 2 H1: 1 = 2

พิจารณาจุดมุ่งหมายของการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.2.4 ขั้นตอนการตั้งสมมติฐาน พิจารณาจุดมุ่งหมายของการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตั้งสมมติฐานทางการวิจัย ตั้งสมมติฐานทางสถิติ

แหล่งของความคลาดเคลื่อนในการสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 3.2.5 ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบ สมมติฐาน แหล่งของความคลาดเคลื่อนในการสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน - แบบการวิจัย - วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล - วิธีการสุ่มตัวอย่าง - การสรุปผล - วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมติฐาน ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 (Type  error) ปฏิเสธ Ho เมื่อ Ho ถูกต้อง ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2 (Type  error) ยอมรับ Ho เมื่อ Ho ผิด

สภาพความเป็นจริงของ Ho ถูก ผิด  Type  error ยอมรับ การ ตัดสินใจ ปฏิเสธ Type  error 

กิจกรรม ค้นคว้าสมมติฐานการวิจัยจากวิทยานิพนธ์/ รายงานการวิจัย 3 เรื่อง ค้นคว้าสมมติฐานการวิจัยจากวิทยานิพนธ์/ รายงานการวิจัย 3 เรื่อง วิเคราะห์และระบุตัวแปรอิสระและตัวแปรตามของงานวิจัยแต่ละเรื่อง เขียนสมมติฐานทางสถิติ