แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
นโยบายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
การประชุมกลุ่ม เรื่องการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559 นพ.ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค

ประเด็น Highlight 1. การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา 2. กรมคุณธรรม 1. การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา 2. กรมคุณธรรม 3. เป้าหมายการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (ระยะสั้น-ระยะกลาง-ระยะยาว) 4. การยุติปัญหาเอดส์ 5.การป้องกันควบคุมวัณโรค

การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนามและการควบคุมโรค Obj : มีกำลังคนอย่างเพียงพอที่จะรับมือโรคและภัยที่เป็นภาวะคุกคามต่อภาวะสุขภาพของ ปชช. และความมั่นคงของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ KPI: 1. มีจำนวนนักระบาดวิทยาระดับเชี่ยวชาญ 1 ต่อประชากร 200,000 คน 2. มีจำนวนนักระบาดวิทยาระดับกลาง 1 คนต่อประชาการ 100,000 คน 1. แผนแม่บทพัฒนานักระบาดวิทยาภาคสนามและการควบคุมโรคทุกระดับ 2. เริ่มการฝึกอบรมหลักสูตรระบาดวิทยาภาคสนามสำหรับนักวิชาการสาธารณสุข เป้าหมาย: 6 เดือน 1 ปี สามารถพัฒนานักระบาดวิทยาระดับกลางได้ไม่น้อยกว่า 50 คน นักระบาดวิทยาระดับเชี่ยวชาญ 1. ทบทวนแผนแม่บทการพัฒนานักระบาดวิทยาระดับเชี่ยวชาญของประเทศ 2. พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน 3. กิจกรรมที่จะช่วยให้นักระบาดวิทยาภาคสนามเชี่ยวชาญสามารถคงสมรรถนะและสามารถเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ เพิ่มเติมได้ต่อเนื่อง นักระบาดวิทยาระดับกลาง 1. วิเคราะห์ GAP และจัดทำแม่บทการพัฒนานักระบาดวิทยาระดับกลาง 2. เพิ่มกำลังการผลิตนักระบาดวิทยาระดับกลาง 3. กิจกรรมเพื่อให้นักระบาดวิทยาระดับกลางคงสมรรถนะด้านการป้องกัน ตรวจจับ และตอบโต้ไว้ได้อย่างต่อเนื่อง มาตรการ

กรมคุณธรรม อำนาจและหน้าที่กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม (1) ดำเนินการเผยแพร่ ปลูกฝัง ส่งเสริม ยกย่องข้าราชการ ที่เป็นแบบอย่างที่ดี และติดตามสอดส่องการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างสม่ำเสมอ (2) สืบสวนข้อเท็จจริงการฝ่าฝืนจริยธรรม (3) ให้ความช่วยเหลือและดูแลข้าราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมมิให้ถูกกลั่นแกล้ง หรือถูกใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรม (4) ทำหน้าที่ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการจริยธรรมประจำ กรมควบคุมโรค (5) ดำเนินการอื่นตามที่กำหนดในประมวลจริยธรรม หรือตามที่หัวหน้าส่วนราชการ คณะกรรมการจริยธรรม หรือตามที่ ก.พ. มอบหมาย

แนวทางการขับเคลื่อนสู่กรมคุณธรรม การพัฒนาบุคลากรด้านคุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติตนตามประมวลจริยธรรม ค่านิยม และจรรยาข้าราชการของกรมฯ กรมคุณธรรม การบริหารงานบุคคล หลักเกณฑ์การแต่งตั้งโยกย้ายที่ โปร่งใส เป็นธรรม ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็นธรรม มาตรการ 1) ส่งเสริมให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ทุกระดับปฏิบัติงานตามหน้าที่และ หลักธรรมาภิบาล และการดำเนินชีวิต ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2) สร้างองค์ความรู้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตโดยการศึกษาวิจัย และการพัฒนา 3) บูรณาการหน่วยงานกับองค์กรทุกภาคส่วนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ การจัดซื้อจัดจ้าง การสร้างความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง

สร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการกรมควบคุมโรค ปฏิทินการดำเนินงาน วัน เดือน ปี กิจกรรม ต.ค. 2558 - ก.ย. 2559 สร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการกรมควบคุมโรค พ.ย. - ธ.ค. 2558 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์อัตลักษณ์กรมควบคุมโรค พ.ย. 2558 - เม.ย. 2559 จัดประกวดสื่อต่อต้านการทุจริต ธ.ค. 2558 จัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมควบคุมโรค ด้านคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกันการทุจริต ก.พ. 2559 จัดสัมมนาเครือข่ายจริยธรรมกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มิ.ย. 2559 จัดโครงการจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค ด้านการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ (R2R) การสร้างมาตรฐานความโปร่งใส

Strong national disease control system DC for national security DC Excellence Infectious dz. NCD Travel & migration En-Oc health Regional/ COE PH lab Surveillance EOC / JIT Special setting Vaccine Infra structure Inter. Research Center HRP/HRD Information Technology Inter. Training Center Equip./ Lab.

DC SYSTEM Surveillance JIT EOC Excellence Center Vaccine Security Non-communicable disease Travel & Migration DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center JIT Surveillance EOC Occupational Health Agriculture/ Industry Point of entry /Border Health /Migrant Special Setting/Pop Infectious diseases Acute/Chronic Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Infrastructure HRP/HRD International Training Center International Research Center Information Technology Equipment/ Laboratory แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 1) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข JIT หมายถึง Joint Investigation Team หรือทีมสอบสวนโรคสหสาขา

ระยะกลาง ระยะยาว ระบบควบคุมโรค ระยะสั้น 1.งานควบคุมโรคตามแนวพระราชดำริ 1.1 Malaria : โรงเรียน ตชด.196 โรงเรียน 1.2 หนอนพยาธิ : แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร 825 รร.+ภูฟ้า 36 ชุมชน 2.เขตเศรษฐกิจพิเศษ (บูรณาการชาติ) 2.1 ด่าน : IHR2005 23 แห่ง 2.2 จังหวัดชายแดน : IHR2005 & GHSA 10 จังหวัดเป้าหมาย 2.3 Twin cities จังหวัดชายแดนตามข้อกำหนด Twin cities ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 2.4 คลินิก travel medicine 1 คลินิกต้นแบบ 2.5 One Health 10 จังหวัดเป้าหมาย 3. กลุ่มวัย(บูรณาการชาติ) 3.1ปฐมวัย ศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคร้อยละ 30 3.2 วัยเรียน จมน้ำ :ทีมก่อการดี(Merit maker)อำเภอละ1ทีม ในพื้นที่เสี่ยง อาหารและน้ำ :พัฒนาระบบการตรวจจับ/เฝ้าระวังใน รร.ในสังกัด สพฐ. 1,012 แห่ง 3.3 วัยรุ่น ALC : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปชก.อายุ 15-19 ปีไม่เกินร้อยละ 13 ยาสูบ : อัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น (อายุ15 – 18 ปี) อัตราไม่เกินร้อยละ 10 AIDs : จำนวนหน่วยงานเครือข่ายที่ร่วมมือฯ กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชนและกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด 6 หน่วยงาน 3.4 วัยทำงาน CVD &CKD : องค์กรหัวใจดี 15 จังหวัด คลินิกNCDคุณภาพ: ผู้ป่วยรายใหม่ด้วย IHD ลดลง ผู้ป่วยDM&HTควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี อุบัติเหตุ : ด่านชุมชนทุกอำเภอในพื้นที่เสี่ยงสูง : ทีมสอบสวนการบาดเจ็บและอุบัติเหตุทางถนน Env-occ :เกษตรกรมีพฤติกรรมดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 : หน่วยบริการปฐมภูมิที่มีการจัดบริการอาชีวอนามัยให้แรงงานในชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 10 4. งานป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ 4.1 วัณโรค : Success rate (New M+/ New M/ Relapse/ EP) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 4.2 มาลาเรีย : จำนวนอำเภอที่ไม่มีการแพร่เชื้อมาลาเรีย ภายในปี พ.ศ.2562 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของอำเภอทั้งหมด 4.3 AID ยุติปัญหาเอดส์ : อัตราป่วยลดลง จำนวนผู้ติดเชื้อHIVที่ได้รับยารักษาด้วยยาต้านไวรัสฯเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 5. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (บูรณาการชาติ) 5.1 36 จังหวัดมีระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษ สวล. ร้อยละ 80 5.2 ขยะ 8 จังหวัด, หมอกควัน 9 จ.ภาคเหนือ, ฝุ่นหน้าพระลาน จ.สระบุรี 6. พัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนามและการควบคุมโรค 6.1 พัฒนานักระบาดวิทยาระดับกลาง ไม่น้อยกว่า 50 คน 7. ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ 2558 7.1 ร่างอนุบัญญัติ 23 ฉบับ 7.2 คณะกรรมการจังหวัด ทุกจังหวัด 8. ยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศ ด้านควบคุมโรคของประเทศ(บูรณาการกระทรวงฯ) 8.1 EOC ทุกเขต/ทุกจังหวัดสามารถควบคุมโรคติดต่ออันตรายไม่ให้แพร่ระบาดมากกว่า generation ที่ 2 ได้ 8.2 ระบบเฝ้าระวัง และฐานข้อมูล 5 กลุ่มโรค 5 มิติ 12 จังหวัดเป้าหมาย แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศ ด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2564 1. แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ 1.1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรค/ภัย และระบบตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติด้านสาธารณสุข 1.2 Public Health Emergency Management 1.3 พัฒนาระบบควบคุมโรคสำหรับกลุ่มประชากรเฉพาะหรือในพื้นที่เฉพาะ 1.4 Vaccine Security 2. แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2.1 พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศระดับประเทศ (ส่วนกลาง) ได้แก่ ด้านโรคติดเชื้อ , Env-Occ , NCD , SIT/AIDS , เวชาศาสตร์การเดินทางและเคลื่อนย้ายถิ่น , TB , Vector borne disease 2.2 พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศระดับภูมิภาค/เขตสุขภาพ (สคร.) ได้แก่ (1) ด้านนโยบายและวิจัยงานเฝ้าระวังป้องกันฯ ในเขตเมือง (2) ห้องปฏิบัติการ และหน่วยสาธิตบริการ ด้าน Vector borne disease , TB , SIT/AIDS , Env-Occ 3. แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ 3.1 งาน HRP/HRD 3.2 International Training Center : ITC 3.3 International Research Center : IRC บูรณาการระบบข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวัง/ ภัยสุขภาพ การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติด้านสาธารณสุขและการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพ 1.1 พัฒนาระบบข้อมูลการติดตาม เฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มNCD ,Injury และ Env-Occ 1.2 ปรับปรุง Infrastructure & Technologyระดับเขตเชื่อมโยงกับจังหวัด 1.3 พัฒนาด่านช่องทางเข้าออกตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ 67 แห่ง 1.4 พัฒนาสมรรถนะด่านชายแดน 21 จังหวัด 2. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center, EOC) และระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency Management) และการแพทย์ฉุกเฉิน 2.1 พัฒนา EOC, SAT ในระดับเขต 2.2 พัฒนา Joint Investigation Team ระดับภูมิภาค 2.3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ การวิจัยด้านการแพทย์ฉุกเฉินในภาวะภัยพิบัติสร้างความเข้มแข็งของชุมชนพร้อมรับภัยพิบัติ 3. พัฒนาระบบและกลไกการเข้าถึงระบบบริการการป้องกันและดูแลรักษาแบบบูรณาการในประชากรกลุ่มเสี่ยง 3.1 ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการบริการแบบบูรณาการ RRTTR 3.2 การลดการตีตราและเลือกปฏิบัติในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาเอดส์ 3.3 เร่งรัดป้องกันควบคุมและดูแลรักษาวัณโรคดื้อยา 3.4 การกำจัดการแพร่เชื้อโรคมาลาเรียในประเทศไทย (Malaria Elimination)

การขับเคลื่อนเพื่อยุติปัญหาเอดส์ ปี 2559 Global targets เป้าหมายประเทศไทย แผนยุติปัญหาเอดส์ 2562 2573 90-90-90 95-95-95 < 2600 <1000 50% 10%

กลยุทธ์/มาตรการสำคัญเพื่อยุติเอดส์ 1. ขับเคลื่อนชุดบริการ RRTTR ให้ครอบคลุมประชากรหลัก และครอบคลุมพื้นที่ (งบกองทุนเอดส์ หมวดป้องกัน 186.3 ล้าน) * MSM/TG 32,500 คน 62 จังหวัด * FSW 37,400 คน 76 จังหวัด * PWID 2600 คน 7 จังหวัด 3. ลดการตีตรา เลือกปฏิบัติ และพัฒนากลไกคุ้มครองสิทธิ (งบกรมคร. 10 ล้าน) * พัฒนาศักยภาพและทีมงานวิทยากร * สนับสนุนสคร.ไปพัฒนาจังหวัด * เข็ม/กระบอกฉีดสะอาด 2. พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบที่มีการเชื่อมต่อการป้องกันกับการดูแลต่อเนื่องตลอดชีวิต (งบกองทุนเอดส์หมวดพัฒนาระบบ 13.7 ล้าน) 4. พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ และขับเคลื่อนกลไกจังหวัด/เขต (งบกรมคร. 20 ล้านบาท) * ประชุมชี้แจง/ประกาศการขับเคลื่อน * สนับสนุนสคร ไปขับเคลื่อนกลไกจังหวัดและระบบข้อมูลติดตามการบริการ RHIS * พัฒนาระบบเฝ้าระวัง

เป้าหมายความสำเร็จยุติปัญหาเอดส์ ปี 59 3 เดือน 6 เดือน 12 เดือน ไม่ติด/ไม่ตาย ความร่วมมือของ รพ/สสจ/ประชาสังคม ทุกพื้นที่สามารถจัดบริการได้ตามชุดกิจกรรม เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย * MSM/TG 32,500คน * FSW 37,400 คน * PWID 2600 คน รักษา ART ใหม่ 32,000 คน ไม่ตีตรา พัฒนาเครื่องมือ, ศักยภาพ พัฒนาและดำเนินงานได้ 1 จังหวัดต่อสคร. นโยบาย/ข้อมูล นโยบายระดับชาติ Joint KPI จังหวัดเป้าหมายให้พันธะสัญญายุติปัญหาเอดส์ * ผลงานบริการจากระบบ RHIS * ผลการเฝ้าระวัง

ค้นให้พบ มาตรการ กิจกรรม กลยุทธ์มุ่งลดโรค การป้องกันควบคุมวัณโรค 1.1 ขยายงานสู่ รพ.เอกชน/รพ.นอก สธ. 1.ค้นหาเชิงรุกในประชากร “กลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย” 1.2 ติดตามผู้สัมผัส 1.3 คัดกรองในเรือนจำ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้สูงอายุ ค้นให้พบ 1.4 ค้นหาในแรงงานข้ามชาติ 2. พัฒนาคุณภาพการตรวจหาวัณโรคดื้อยาทางห้องปฏิบัติการ” 2.1 พัฒนาบุคลากรทางห้องปฏิบัติการชันสูตร 2.2 ประเมินเทคโนโลยีและตรวจรับรองคุณภาพ เป้าหมาย 3.1 วิจัยทางคลินิก 3. พัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค 3.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร จบด้วยหาย 3.3 ประเมินและพัฒนามาตรฐาน QTB/HA 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคประชาสังคม 4.1 สื่อสาร/สร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยในชุมชน 4.2 พัฒนาระบบส่งต่อดูแลการกินยาให้ต่อเนื่อง 4.3 จัดหาและระดมทุนจากองค์กรเอกชน/อปท. พัฒนาระบบและเครือข่าย กำ กั บ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ( M o n i t o r i n g & E v a l u t i o n ) 01/12/61 กำกับติดตามคุณภาพข้อมูลตามระบบเฝ้าระวังวัณโรคและวัณโรคดื้อยา วิเคราะห์ ชี้เป้า กำหนดมาตรการ ข้อเสนอ วางแผน

การกำกับและประเมินผล (Monitoring & Evaluation) ค้นหาเชิงรุก “กลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย” ร้อยละผลการค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้น ≥10 พัฒนาคุณภาพการตรวจหาวัณโรคดื้อยาทางห้องปฏิบัติการ” ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษา วัณโรคมาก่อน มีผลตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรค ≥70 พัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค ร้อยละของโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค ≥75 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคประชาสังคม ร้อยละอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งด้านวัณโรคผ่านเกณฑ์การประเมิน ≥60 01/12/61

Quick Win ปี 59 ประเด็นเด่น ไตรมาส 1-2 ไตรมาส 3-4 ค้นหาวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง ค้นหาในเรือนจำ, DM, HIV กระจาย และใช้เครื่อง Xpert MTB/RIF 30 เครื่อง, & LPA 12เขต ค้นหาในเรือนจำ DM, HIV ต่อเนื่อง ติดตามการขยายการวินิจฉัย TB และ MDR-TB รายงาน ผป.วัณโรคเพิ่มขึ้น 10% ยาใหม่, การเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้ยา และตั้งเครือข่าย XDR-TB Center นำเข้ายา Bedaquiline ตั้ง XDR-TB center 12 เขต(รพศ.) รักษาด้วยสูตรที่มียาใหม่ พร้อมเฝ้าระวังตามแนวทาง WHO มีข้อมูลการเฝ้าระวังฯ ปรึกษากรมการแพทย์ ผลักดันเป็น service plan: MDR-/XDR-TB