บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

ME-RMUTI Sarthit Toolthaisong
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
Combination of Programmable Force Fields
โดยการใช้ Layer และ Timeline
ข้อเท็จจริงที่ควรรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
Frictions WUTTIKRAI CHAIPANHA Department of Engineering Management
Chapter 3 Equilibrium of a Particle
Vibration of Torsional Disks
Fuzzy ART.
วัตถุมวล 10 kg วางอยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตย์ 0.8 และสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ kg µ s = 0.8 µ k = 0.3 จงเขียนโปรแกรมซึ่งรับค่าขนาดของ.
DC motor.
Uniform Flow in Open Channel. วัตถุประสงค์ สามารถอธิบายเงื่อนไขการไหลแบบ uniform flow ตัด control volume.
2332 % % % % % % % % % จำนว น ร้อย ละ % ≤100 mg/dl mg/ dl
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
พลศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Dynamics)
Bond, Anchorage, and Development Length
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
แรงในชีวิตประจำวัน.
ชุดที่ 7 ไป เมนูรอง.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
อะตอม คือ?.
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
อาจารย์ รุจิพรรณ แฝงจันดา
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
Tides.
Chapter Objectives Chapter Outline
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion)
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
โมเมนตัมและการชน อ.วัฒนะ รัมมะเอ็ด.
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
งานและพลังงาน.
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
ชื่องานวิจัย Rotational dynamics with Tracker
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
แรงเสียดทาน ( Friction Force ).
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
เครื่องช่วยในการตรวจการณ์
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
การประชุมเพื่อกำหนดแนวทางกิจกรรมรองรับนโยบายการขายและการให้บริการ หน่วยธุรกิจโทรศัพท์ประจำที่และบรอดแบนด์ ปี 2560.
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
Forces and Laws of Motion
แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
เมื่อออกแรงผลักวัตถุ แล้วปล่อยให้วัตถุไถลไปตามพื้นราบในแนวระดับ
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่ ฟิสิกส์ 1 บทที่ 3 แรง มวลและกฎการเคลื่อนที่

พลศาสตร์ของวัตถุ จลศาสตร์(kinematics) และพลศาสตร์(dynamics) เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของการเคลื่อนที่ ความแตกต่างของสองวิชานี้คือ จลศาสตร์กล่าวถึงเส้นทางการเคลื่อนที่โดยไม่คำนึงถึงสาเหตุที่ทำให้เคลื่อนที่ แต่พลศาสตร์กล่าวถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุอันเนื่องมาจากแรง ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เคลื่อนที่ ดังนั้น พลศาสตร์ของวัตถุ คือการศึกษาในเรื่องของแรงซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่

ผู้บุกเบิกคิดค้นถึงเหตุผล เพื่อหากฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ คือ กาลิเลโอ ในเวลาต่อมา เซอร์ ไอแซก นิวตัน ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมและ ได้เขียนเป็นกฎไว้ 3 ข้อเรียกว่า กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s laws of motion) กฎเหล่านี้ใช้ได้กับการเคลื่อนที่ของวัตถุทุกชนิด

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มีปริมาณที่เกี่ยวข้องหลายปริมาณคือ มวล แรง ความเร่ง ความเร็ว การกระจัด มวล (Mass) คือปริมาณเนื้อสารที่มีอยู่ในวัตถุ เป็นค่าที่จะบอกความเฉื่อยของวัตถุ ซึ่งความเฉื่อยนี้เป็นปริมาณที่จะต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ หรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า สมบัติของวัตถุที่ต่อต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นว่า “ความเฉื่อย” (Inertia) และปริมาณที่บอกให้ทราบว่า วัตถุใดมีความเฉื่อยมากหรือน้อย ก็คือ มวลของวัตถุ มวลเป็นปริมาณสเกลาร์ ใช้สัญลักษณ์ “m” หน่วยของมวลคือ กิโลกรัม (kg)

มวล (mass) คือปริมาณเนื้อสารที่มีอยู่ในวัตถุ เป็นค่าที่จะบอกความเฉื่อยของวัตถุ ซึ่งความเฉื่อยนี้เป็นปริมาณที่จะต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ มวลมาก ความเฉื่อยมาก เคลื่อนที่ได้ยาก มวลน้อย ความเฉื่อยน้อย เคลื่อนที่ได้ง่าย

น้ำหนัก(Weight) คือแรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำต่อวัตถุ ในทิศทางพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก น้ำหนักเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน(N) มวลและน้ำหนักมีความสัมพันธ์กัน ตามสมการ เมื่อ m =มวล(กิโลกรัม) g = สนามโน้มถ่วงของโลก (เมตร/วินาที2 ) ดังนั้นมวลจะมีค่าคงตัว แต่น้ำหนักจะแปรตามค่า g

แรง (Force) แรง คืออำนาจอย่างหนึ่งที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)

  แรงที่ควรรู้จักมีดังนี้ - แรงกิริยา คือแรงที่กระทำต่อวัตถุ - แรงปฏิกิริยา คือแรงที่โต้ตอบแรงกิริยา F1 F2

โดยที่แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1 โดยที่แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีขนาดเท่ากัน 2. มีทิศทางตรงกันข้าม และอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน 3.  กระทำ ณ ที่จุดเดียวกัน ถ้าวัตถุสัมผัสกัน กระทำบนมวลแต่ละก้อน แต่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ผ่านจุดศูนย์กลางมวลทั้งสอง ถ้ามวลทั้งสองไม่สัมผัสกัน

แรงย่อย คือแรงเดียวเพียงแรงเดียวที่กระทำต่อวัตถุ m F

แรงลัพธ์ คือผลรวมแบบเวกเตอร์ของแรงย่อย ที่กระทำต่อวัตถุ F1 F2 แรงลัพธ์ หรือ F = F1+F2

แรงตึงเชือก คือแรงภายในเส้นเชือกขณะที่ถูกดึงและขณะที่ขึงเชือกให้ตึง T

แรงเสียดทาน (Friction) คือแรงที่ต้านทานการเคลื่อนที่ ของวัตถุเมื่อวัตถุเริ่มจะมีการเคลื่อนที่ หรือกำลังมีการเคลื่อนที่

โดยที่ ก. แรงเสียดทานเกิดระหว่างที่ผิวสัมผัสของวัตถุ ข โดยที่ ก.แรงเสียดทานเกิดระหว่างที่ผิวสัมผัสของวัตถุ ข. แรงเสียดทานจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ * วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ขัดสีกัน * วัตถุกำลังเคลื่อนที่ขัดสีกัน เมื่อวัตถุวางทับกันเฉย ๆ โดยไม่มีแนวว่าจะเคลื่อนที่ หรือไม่มีแนวว่าจะขัดสีกันแสดงว่ายังไม่มีแรงเสียดทานเกิดขึ้น

ชนิดของแรงเสียดทาน แรงเสียดทานแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ แรงเสียดทานสถิต และแรงเสียดทานจลน์

แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานขณะที่วัตถุอยู่นิ่งกับที่ มีค่าได้ตั้งแต่ ศูนย์ จนถึงสูงสุด เท่ากับ sN นั่นคือ แรงเสียดทานสถิต (fs) = sN

แรงเสียดทานจลน์ เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่ มีค่าเท่ากับ kN นั่นคือ แรงเสียดทานสถิต (fk) = kN

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน กล่าวว่า “วัตถุทุกชนิด จะดำรงสภาพหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ตราบใดที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ” จากกฎข้อนี้อาจมีแรงหลาย ๆ แรงมากระทำกับวัตถุ แต่แรงลัพธ์ของแรงภายนอกเหล่านั้นเป็นศูนย์แล้ววัตถุนั้นยังคงรักษาสภาพนิ่งไว้อย่างเดิม

วัตถุซึ่งแรงลัพธ์ที่กระทำเป็นศูนย์จะไม่เคลื่อนที่หรือจะวิ่งด้วยความเร็วคงที่ F1 F2 F3 F1+F2+F3=0 m F1 F2 F1+F2=0

กฎข้อที่ 1 ของนิวตันกำหนดขอบเขตของผู้สังเกตว่า ผู้สังเกตจะต้องหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่เทียบกับ กรอบอ้างอิงเฉื่อย (inertial frame) เท่านั้น

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน กล่าวว่า “เมื่อมีแรงลัพธ์ซึ่งขนาดไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุจะทำให้วัตถุเกิดความเร่งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทำ และขนาดของความเร่งจะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ”

แบบฝึกหัด 3.1 1.วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกจากยอดตึกสูง 100 เมตร ลงมาจะมีแรงมากระทำต่อวัตถุ เท่าไร (g=10เมตร/วินาที2) 2.วัตถุก้อนหนึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม เดิมอยู่นิ่ง ต่อมามีแรงมากระทำกับวัตถุนี้ 8 วินาที ปรากฏว่ามีความเร็ว เป็น 24 เมตร/วินาที จงหาแรงที่มากระทำต่อวัตถุ 3.แรง 20 นิวตัน กระทำต่อวัตถุหยุดนิ่งก้อนหนึ่ง ให้เคลื่อนที่ปรากฏว่าในเวลา 10 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ 40 เมตร จงหามวลของวัตถุก้อนนี้

4.วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ถูกแรง 10 นิวตัน กระทำในทิศทางเดียวกันกับการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งขณะนั้นมีความเร็ว 10 เมตร/วินาที อีก 4 นาที ต่อมาวัตถุจะเคลื่อนที่ไปได้ระยะทางเท่าใด 5.วัตถุหนึ่งถูกแรง 100 นิวตัน กระทำแล้วเกิดความเร่ง 10 เมตร/วินาที2ถ้าวัตถุก้อนนี้ถูกแรง 50 นิวตัน กระทำจะเกิดความเร่งเท่าใด

กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน กล่าวว่า “ทุกแรงกิริยาจะต้องมีแรงปฏิกิริยา ที่มีขนาดเท่ากัน และ มีทิศทางตรงข้ามกัน อยู่เสมอ” โดยที่ F12 เป็นแรงที่กระทำต่อวัตถุก้อนที่ 1 (กระทำโดยวัตถุก้อนที่ 2) F21เป็นแรงที่กระทำต่อวัตถุก้อนที่ 2 (กระทำโดยวัตถุก้อนที่ 1)

ลักษณะของแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา 1.แรงกิริยา คือแรงภายนอกที่กระทำต่อวัตถุ 2.แรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเส้นเชือก เรียกว่า แรงตึงเชือก ( T ) คือแรงที่เกิดขึ้นในเส้นเชือก เป็นแรงภายใน จะต้องมีทิศออกจากวัตถุที่พิจารณาแรงที่มากระทำเสมอ 3.แรงปฏิกิริยาระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ จะต้องมีทิศเข้าสู่วัตถุที่พิจารณา แรงที่กระทำเสมอ

ลักษณะของแรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยาและแรงกระทำต่อวัตถุ 1.วัตถุวางบนพื้นราบ แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา mg เป็นแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ N เป็นแรงที่พื้นดันวัตถุ แรงที่กระทำต่อวัตถุคือ N และ mg N เรียกอีกอย่างว่า แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทำต่อวัตถุ N mg N=mg ( กฎข้อที่1 ของนิวตัน )

2.วางวัตถุบนพื้นเอียง mg เป็นแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ F เป็นแรงที่วัตถุดึงดูดโลก R เป็นแรงที่วัตถุกดพื้น N เป็นแรงที่พื้นดันวัตถุ N R mg F แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา

แรงที่กระทำต่อวัตถุ แรงที่กระทำต่อวัตถุ คือ N และ mg โดย mg สามารถแยกออกได้เป็น และ N mg ส่วน ฉุดให้วัตถุเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียง ค่าของแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทำต่อวัตถุไม่จำเป็นต้องเท่ากับ mg แต่ทิศทางแรงปฏิกิริยา (N) จะตั้งฉากกับผิวสัมผัสระหว่างวัตถุกับพื้นเสมอ

แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน คือ แรงต้านทานการเคลื่อนที่ของวัตถุ ใช้สัญลักษณ์ “ f ” m เกิดระหว่างวัตถุกับพื้น

1.แรงเสียดทานสถิต เกิดขึ้นจากการที่มีแรงภายนอกมากระทำต่อวัตถุ พยายามให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ แต่วัตถุนั้นยังไม่เคลื่อนที่ แรงเสียดทานสถิตมีค่าได้หลายค่าตั้งแต่น้อยที่สุดจนถึงมากที่สุด จะมีค่ามากที่สุด เมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ แรงเสียดทานสถิตมากที่สุดหาได้จาก เมื่อ = แรงเสียดทานสถิต = สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิต = แรงปฎิกริยาที่ผิวสัมผัสนั้น

2.แรงเสียดทานจลน์ เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุกำลังเคลื่อนที่มีค่าคงที่เสมอ หาได้จาก เมื่อ = แรงเสียดทานจลน์ = สัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน = แรงปฏิกิริยาที่ผิวสัมผัสนั้น

ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อมีแรงเสียดทาน อยู่นิ่ง N mg F1 fs วัตถุจะหยุดนิ่ง เมื่อ F1< = fs

ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อมีแรงเสียดทาน เริ่มเคลื่อนที่ N mg F2 fs (max) วัตถุเริ่มเคลื่อนที่ เมื่อ F2 = fs

ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อมีแรงเสียดทาน วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ F3 N mg fk วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เมื่อ F3 = fk

การนำกฎของนิวตันไปใช้ การเคลื่อนที่ของวัตถุหลายก้อนด้วยความเร่งเท่ากัน หลักการแก้ปัญหา 1.วาดรูปการเคลื่อนที่ของวัตถุพร้อมทั้งกำหนดทิศทางความเร่ง ของมวลแต่ละก้อน 2.เขียนแรงที่เกิดขึ้นบนวัตถุแต่ละก้อน ถ้าแรงใดไม่อยู่ในแนวการเคลื่อนที่ให้แตกแรงนั้นให้อยู่ในแนวการเคลื่อนที่ 3.หาแรงลัพธ์บนมวลแต่ละก้อน โดยใช้ การแทนค่าแรงต่างๆ ให้แรงที่มีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่มีทิศบวก(+) แรงใดมีทิศสวนการเคลื่อนที่มีทิศลบ(-)

การบ้าน 3.1 1.จากรูปแรง F = 120 นิวตัน ดึงมวล 5 kg ดังรูปจงหาความเร่งของมวลทุกก้อน, T1 และ T2 เมื่อสัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน = 0.1 15 10 5 T1 T2 F

2.เมื่อใช้แรงฉุด 80 นิวตัน ดึงวัตถุ ซึ่งมวล 2 และ 3 Kg ขึ้นดังรูป จงหาความเร่งของมวลทั้งสองและแรงตึงเชือกระหว่างมวลทั้งสอง 80 N 2 3

3.มวล 2 และ 3 กิโลกรัม แขวนอยู่ที่ปลายเชือกคล้องผ่านรอกคล่องดังรูป ถ้ามวลของเชือกและรอกน้อยมาก (ไม่มีมวล) จงหา ก. ความเร่งของมวลทั้งสอง ข.แรงตึงในเส้นเชือก 2 3

ลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วคงที่ 3.ในลิฟต์แห่งหนึ่งมีพื้นเอียงทำมุม กับแนวราบและมีมวล m วางอยู่บนพื้นเอียง จงหาความเร่งของมวล m เมื่อเทียบกับพื้นเอียง ถ้า ลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วคงที่ ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วคงที่ ลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งคงที่ ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่งคงที่ เมื่อสายเคเบิลของลิฟต์ขาด m

การเคลื่อนที่ของวัตถุบนพื้นเอียง แรงกระทำต่อวัตถุมี 3 แรงคือ แรงที่โลกดึงดูดวัตถุ (mg) แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทำตั้งฉากกับผิวสัมผัส (N) แรงเสียดทานของพื้น ( f ) เมื่อวางวัตถุ วัตถุจะไถลลงมาด้วยความเร่ง a ดังนั้นจึงต้องแยกแรง mg ออกมา 2 แรง คือ - อยู่ในทิศขนานกับพื้นเอียงมีทิศพุ่งลงทำให้วัตถุ เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง - มีทิศลงตั้งฉากกับพื้นเอียงเพื่อให้วัตถุติดพื้น การพิจารณา จะพิจารณาการเคลื่อนที่ได้ 2 แนว คือ -แนวดิ่ง (ตั้งฉากกับพื้นเอียง) -แนวระดับ (ขนานกับพื้นเอียง)

การหาแรงปฏิกิริยา และการชั่งน้ำหนักในลิฟต์ m mg N ลิฟต์ m mg T การหาแรงปฏิกิริยา และหาน้ำหนักในลิฟต์ เป็นการหาในขณะที่ วัตถุเคลื่อนที่ ไปพร้อมกับลิฟต์ หลักการพิจารณา ถ้าต้องการหาแรงที่กระทำต่อวัตถุ ให้ใส่แรงที่กระทำต่อวัตถุนั้น ให้ครบแล้วดูการเคลื่อนที่แรงใดมีทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ของลิฟต์ แรงนั้นเป็นบวก (+) แรงใดมีทิศสวนทางกับการเคลื่อนที่ของลิฟต์ แรงนั้นเป็นลบ (-)

จาก ขึ้น N- mg = ma หรือ T - mg = ma ลง mg - N = ma หรือ mg – T = ma การเคลื่อนที่ของลิฟต์มี 2 ลักษณะ คือ ขึ้นหรือลง จาก ขึ้น N- mg = ma หรือ T - mg = ma ลง mg - N = ma หรือ mg – T = ma m mg T m mg N ลิฟต์ หมายเหตุ การเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ( Vเพิ่ม ) a = + การเคลื่อนที่ด้วยความหน่วง ( V ลด) a = - การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ a = 0

แบบฝึกหัด 3.3 1.จากรูป มวล A = 4 กิโลกรัม ,มวล B = 6 กิโลกรัม , F = 120 นิวตัน จงหาความเร่งของวัตถุทั้งสองและแรงตึงเชือกระหว่าง A กับ B 2. รถคันหนึ่งมีลูกเหล็กผูกเชือกแขวนจากเพดานหลังคารถ ในขณะที่รถแล่นไปข้างหน้าในแนวราบด้วยความเร่ง ปรากฏว่าเชือกเอียงทำมุม 45 องศา กับแนวดิ่ง จงหาว่ารถวิ่งด้วยความเร่งเท่าไร F B A 30°

3.จากรูป จงหาความเร่งของมวลทั้งสองก้อน และแรงตึงในเส้นเชือก ที่ผูกมวลทั้งสอง 10 kg 5 kg 37° 53°

4.หญิงหมูมีมวล 80 กิโลกรัม ยืนชั่งน้ำหนักในลิฟต์ จงหาน้ำหนักที่อ่านได้จากตาชั่งเมื่อ ก.ลิฟต์อยู่นิ่ง ข.ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 1 เมตร/วินาที2 ค.ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร็วคงที่ 1 เมตร/วินาที ง.ลิฟต์เคลื่อนที่ขึ้นด้วยความหน่วงคงที่ 1 เมตร/วินาที2 จ.ลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 1 เมตร/วินาที2 ฉ.ลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วคงที่ 1 เมตร/วินาที ช.ลิฟต์เคลื่อนที่ลงด้วยความหน่วงคงที่ 1 เมตร/วินาที2 ซ.ลิฟต์ขาด

5.ทาร์ซานมวล 75 กิโลกรัม เข้าไปอยู่ในลิฟต์ แล้วโหนเชือกโดยขาลอย พ้นพื้น ถ้าขณะนั้นลิฟต์กำลังเคลื่อนที่ขึ้นด้วยความเร่ง 1.2 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่าแรงตึงเชือกมีค่าเท่าใด

กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน นิวตัน นำผลการสังเกตของนักดาราศาสตร์ทั้งหลายมาสรุปว่า การที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ได้ เนื่องจากมีแรงกระทำระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ ซึ่งแรงนี้เป็นแรงดึงดูดระหว่างมวลของดวงอาทิตย์กับมวลดาวเคราะห์ และยังเชื่อต่อไปอีกว่าแรงดึงดูดระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์เป็นแรงแบบเดียวกันกับแรงดึงดูดระหว่างโลกกับวัตถุบนผิวโลก และเป็นแรงดึงดูดระหว่างวัตถุทุกชนิดในเอกภพ นิวตันจึงสรุปเป็นกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลซึ่งมีใจความว่า “วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่งๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสองและจะแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างวัตถุทั้งสองนั้น”

เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ G เป็นค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล เป็นค่าคงตัวเสมอ ไม่ว่าวัตถุที่ดึงดูดกันจะเป็นวัตถุใด ๆ ก็ตาม G นี้เรียกว่า ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล มีค่า 6.673x10-11 Nm2/kg2