การวัดและประเมินการปฏิบัติ
ความเชื่อพื้นฐานของการจัดการศึกษา ความเชื่อที่เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษา คือ... 1. คนเรียนรู้ได้เท่ากัน ในเวลาที่ไม่เท่ากัน 2. คนเรียนรู้ได้ไม่เท่ากัน ในเวลาที่เท่ากัน www.themegallery.com 2
องค์ประกอบของการจัดการศึกษา การวัดผล หลักสูตร การจัด การเรียนรู้ www.themegallery.com 3
การวัดผลการศึกษา (Educational Measurement) เป็นกระบวนการติดตามผลของการจัดการศึกษา ว่าผู้เรียนเกิดคุณลักษณะต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้หรือไม่ เกิดความสามารถชนิดใดบ้าง มากน้อยเพียงใด และยังมีสิ่งใดบ้างที่ยังบกพร่องควรจะต้องแก้ไข www.themegallery.com 4
การทดสอบ (Testing) การใช้ชุดของคำถามหรือสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นสิ่งเร้าให้ผู้สอบแสดงการตอบสนอง แล้วกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนปริมาณหรือคุณภาพของสิ่งที่ต้องการวัด www.themegallery.com 5
การประเมินผล (Evaluation) เป็นกระบวนการพิจารณาตัดสินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ โดยนำผลจากการวัดไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีคุณธรรมอันสูงยิ่ง www.themegallery.com 6
การวัดและประเมินผล (Assessment) เป็นกระบวนการสังเกต บันทึกและรวบรวมข้อมูลจากผลงานเรียนของผู้เรียน เพื่อเป็นพื้นฐานของการตัดสินใจเกี่ยวกับการพัฒนา การให้ความช่วยเหลือ และการปรับปรุงวิธีการเรียนการสอน www.themegallery.com 7
การทดสอบในมิติเชิงระบบ นักเรียน (คุณลักษณะ ที่ต้องการวัด) ชุดของ คำถาม คะแนน Stimulus Organism Response www.themegallery.com 8
การจำแนกประเภทของจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (Taxonomy of Educational Objectives) 1 ด้านความรู้และการคิด (Cognitive Domain) 2 ด้านความรู้สึก (Affective Domain) 3 ด้านการปฏิบัติ (Psycho-motor Domain) . www.themegallery.com 9
พฤติกรรมด้านความรู้และการคิด 1.00 ความรู้ความจำ (Knowledge) เป็นความสามารถทางสมองในอันที่จะทรงไว้หรือรักษาไว้ซึ่ง เรื่องราวต่าง ๆ ที่บุคคลได้รับเข้าไว้ในสมอง 2.00 ความเข้าใจ (Comprehension) เป็นความสามารถรู้นัยในการสื่อความหมายระหว่างตนเองกับผู้อื่น 3.00 การนำไปใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนำความรู้ ทฤษฎี หลักการ ข้อเท็จจริง ฯลฯ ไปแก้ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น 4.00 การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถในการแยกแยะเรื่องราวใด ๆ ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ว่า สิ่งเหล่านั้นประกอบกันอยู่เช่นไร 5.00 การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรังสรรค์สิ่งใหม่ โดยใช้ส่วนประกอบย่อย ๆ ให้เป็นเรื่องใหม่ 6.00 การประเมินค่า (Evaluation) เป็นความสามารถในการตัดสินตีราคา โดยอาศัยเกณฑ์ (Criteria) และมาตรฐาน (Standard) ที่วางไว้ www.themegallery.com 10
Bloom’s Revised Taxonomy Old Version New Version www.themegallery.com 11
Bloom’s Revised Taxonomy The new terms are defined as: Remembering Retrieving, recognizing, and recalling relevant knowledge from long-term memory. Understanding Constructing meaning from oral, written, and graphic messages through interpreting, exemplifying, classifying, summarizing, inferring, comparing, and explaining. Applying Carrying out or using a procedure through executing, or implementing. Analyzing Breaking material into constituent parts, determining how the parts relate to one another and to an overall structure or purpose through differentiating, organizing, and attributing. Evaluating Making judgments based on criteria and standards through checking and critiquing. Creating Putting elements together to form a coherent or functional whole; reorganizing elements into a new pattern or structure through generating, planning, or producing. www.themegallery.com 12
พฤติกรรมด้านความรู้สึก 1. การรับรู้ (Receiving) 2. การตอบสนอง (Responding) 3. การเกิดค่านิยม (Valuing) 4. การจัดระบบค่านิยม (Organization) 5. การสร้างลักษณะนิสัย (Characterization) www.themegallery.com 13
พฤติกรรมด้านการปฏิบัติ 1. การเลียนแบบ (Imitation) 2. การปฏิบัติโดยลำพัง (Manipulation) 3. การปฏิบัติได้ถูกต้องแม่นยำ (Precision) 4. การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและผสมผสาน (Articulation) 5. การปฏิบัติเป็นอัตโนมัติ เป็นธรรมชาติ (Naturalization) www.themegallery.com 14
การวัดและประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment) เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความสามารถและทักษะ ตลอดจนลักษณะนิสัยในการทำงานของผู้เรียน โดยการมอบหมายงานหรือกิจกรรมให้ลงมือปฏิบัติ เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ มากน้อยเพียงใด www.themegallery.com 15
การวัดและประเมินการปฏิบัติ รวบรวมข้อมูลจากการพูด การแสดงท่าทางการสาธิต การทดลอง การแสดงบทบาทสมมุติ และอื่น ๆ โดยใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ และการตรวจผลงานของผู้เรียน www.themegallery.com 16
ลักษณะสำคัญของการวัดและประเมินการปฏิบัติ มีการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินไว้อย่างชัดเจน กำหนดวิธีการทำงาน กำหนดความสำเร็จของงาน มีคำสั่งควบคุมสถานการณ์ในการปฏิบัติ มีเกณฑ์การให้คะแนน ที่ชัดเจน และมีการประเมินพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของการปฏิบัติงาน www.themegallery.com 17
การวัดและประเมินการปฏิบัติ ลักษณะของงานที่ควรให้ผู้เรียนปฏิบัติ 1. เป็นงานที่มีอยู่จริง (authentic) 2. เป็นงานที่บูรณาการระหว่างเนื้อหาสาระกับทักษะที่สำคัญ (essential skills) 3. สามารถทำได้หลายวิธี (multiple solution) 4. มีความชัดเจน (clear) www.themegallery.com 18
การวัดและประเมินการปฏิบัติ ลักษณะของงานที่ควรให้ผู้เรียนปฏิบัติ 5. เป็นงานที่มีความเป็นไปได้ (feasible) 6. ช่วยให้นักเรียนประสบความสำเร็จ (can help students succeed) 7. เป็นงานที่ท้าทาย (be challenging and stimulating to students) 8. มีเกณฑ์การให้คะแนน (scoring rubrics) 9. ประเมินผลการเรียนรู้ได้หลายด้าน (to assess multiple learning targets) www.themegallery.com 19
ประเภทของงานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ 1. งานที่ให้เปรียบเทียบกัน (Comparison task) 2. งานที่ให้จำแนก (Classification task) 3. งานที่ให้จัดตำแหน่ง (Position support task) 4. งานที่นำความรู้ไปใช้ (Application task) 5. งานที่ใช้การวิเคราะห์ (Analyzing perspective task) 6. งานที่ใช้การตัดสินใจ (Decision making task) www.themegallery.com 20
ประเภทของงานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ 7. งานที่ใช้มุมมองด้านประวัติศาสตร์ (Historical perspective task) 8. งานที่ให้พยากรณ์ (Predictive task) 9. งานแก้ปัญหา (Problem solving task) 10. งานทดลอง (Experimental task) 11. งานคิดค้น (Invention task) 12. งานค้นหาข้อบกพร่อง (Error identification task) www.themegallery.com 21
สิ่งที่ต้องประเมินในการปฏิบัติ 1. กระบวนการ (Procedure) ทำอาหารตะวันตก 2. ผลผลิต (Product) แกะน้ำแข็ง 3. ทั้งกระบวนการ และผลผลิต พิมพ์ดีด www.themegallery.com 22
เกณฑ์การประเมินงานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ 1. มีความสำคัญ (Essential) 2. ตามสภาพจริง (Authentic) 3. อิงคุณค่า (Rich) 4. น่าสนใจ (Engaging) 5. ได้ปฏิบัติ (Active) 6. สามารถทำได้ (Feasible) 7. ให้ความเป็นธรรม (Equitable) 8. ทำใจเปิดกว้าง (Open) www.themegallery.com 23
ประเภทของการทดสอบภาคปฏิบัติ 1. การสอบข้อเขียน (Paper and pencil performance) 2. การระบุชื่อและกระบวนการปฏิบัติ (Identification test) 3. การสร้างสถานการณ์จำลอง (Simulated performance) 4. การกำหนดตัวอย่างงาน (Work sample) 5. การทดสอบจากสถานการณ์จริง (Authentic performance) www.themegallery.com 24
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 1. วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ 2. เลือกตัวชี้วัดที่สามารถสร้างเครื่องมือวัด ภาคปฏิบัติ 3. กำหนดรูปแบบของเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 4. สร้างเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 5. หาคุณภาพของเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ 6. จัดพิมพ์เครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ www.themegallery.com 25
เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการให้คะแนนชิ้นงาน/กิจกรรม เพื่อจำแนกระดับคุณภาพของชิ้นงาน ซึ่งระบุเกณฑ์การประเมิน (Criteria) และระดับคุณภาพ (Quality) ของชิ้นงาน/กิจกรรมใน แต่ละเกณฑ์การประเมิน www.themegallery.com 26
ทำไมต้องมีเกณฑ์การให้คะแนน ช่วยให้สามารถนิยามคำว่า “คุณภาพ” ได้ชัดเจน ช่วยให้ผู้เรียนสามารถประเมินผลงาน/กิจกรรมของตนได้อย่างมีเหตุผล ช่วยลดภาระงานของครูในส่วนของการประเมินผลงานของผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนทราบว่าได้เรียนรู้อะไรบ้าง ช่วยให้ครูกระจ่างชัดยิ่งขึ้นว่าต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือพัฒนาการอะไรบ้าง ช่วยเพิ่มคุณภาพของผลงาน/กิจกรรมของผู้เรียน www.themegallery.com 27
รูปแบบของเกณฑ์การให้คะแนน 1. เกณฑ์ในภาพรวม (Holistic Rubric) 2. เกณฑ์แบบแยกส่วน (Analytic Rubric) 3. เกณฑ์แบบผสม(Annotated Holistic Rubric) www.themegallery.com 28
จุดประสงค์ของการสร้างเกณฑ์การให้คะแนน 1. เพื่อประเมินกระบวนการ (Process) เช่น ประเมินการทำงานเป็นทีม ประเมินกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน 2. เพื่อประเมินผลผลิต (Product) เช่น ประเมิน แฟ้มสะสมผลงาน รายงานโครงงาน ผลการจัดนิทรรศการ 3. เพื่อประเมินการปฏิบัติ (Performance) เช่น ประเมินการนำเสนอ การอภิปราย การสาธิต www.themegallery.com 29
ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนน ศึกษา วิเคราะห์รูปแบบของชิ้นงาน/กิจกรรม กำหนดรายการที่จะใช้เป็นเกณฑ์ ระบุลักษณะของระดับคุณภาพ ฝึกให้ผู้เรียนใช้เกณฑ์ประเมินผลงานของตน ประเมินผลงานระหว่างปฏิบัติงาน แก้ไข ปรับปรุงผลงาน ครูประเมินผลงานของผู้เรียน www.themegallery.com 30
ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนฯ Portfolio ระดับพัฒนาการ คุณลักษณะของ Portfolio ก้าวหน้ายอดเยี่ยม (4) แสดงความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง จากตอนเริ่มต้นถึงปัจจุบัน พัฒนาจากการอ่าน/เขียนจากหัวข้อแคบๆ ไปสู่ความสามารถในการอ่าน/เขียนในหัวข้อที่หลากหลาย สามารถสังเกตและให้คำแนะนำต่อการเปลี่ยนแปลงในงานของตนเอง ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ก้าวหน้ามาก (3) ผู้เรียนได้ขยายการใช้ภาษาและรู้คำศัพท์ที่กว้างขึ้น สามารถทำงานได้อย่างมีอิสระในการอ่าน/เขียนมากยิ่งขึ้น งานมีคุณภาพต่างจากระยะแรก แต่ไม่เท่าประเภทก้าวหน้ายอดเยี่ยม ก้าวหน้าบ้าง (2) งานเขียนของผู้เรียนสอดคล้องกันตลอดและเข้าใจง่าย แต่ หัวเรื่องและเนื้อหายังคงเหมือนเดิม ผู้เรียนอ่านเพื่อความเข้าใจและพอใจในปริมาณที่ไม่มาก มีชิ้นงานที่หลากหลายน้อยและประยุกต์สู่ชีวิตประจำวันได้น้อย ก้าวหน้าน้อย (1) Portfolio มีชิ้นงานน้อย ก้าวหน้าน้อยด้านการอ่าน เขียน ความตั้งใจในการอ่าน/เขียนมีน้อย ไม่ก้าวหน้า (0) Portfolioไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะประเมินผล เป็นเพียงแฟ้มรวม ผลงาน 30 LOGO
ตัวอย่าง Rubric ประเมินการทดลอง เกณฑ์ ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง การออกแบบ การทดลอง แบบการทดลองที่ใช้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนได้มีการวิเคราะห์ปัญหาและออกแบบการทดลองด้วยตนเองและสามารถทำการทดลองได้อย่างเหมาะสม แบบการทดลองที่ใช้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนได้นำแบบการทดลองที่มีอยู่แล้วมาใช้โดยมีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ อย่างดี แบบการทดลองที่ใช้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนได้นำแบบการทดลองที่มีอยู่แล้วมาใช้โดยมีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ บ้าง แบบการทดลองที่ใช้ไม่เหมาะสม ไม่มีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ผลการ ทดลอง ผลการทดลองมีความเป็นไปได้ มีการอธิบายผลการทดลองได้ชัดเจน มีการใช้ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ประกอบการอธิบาย ผลการทดลอง แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความเข้าใจในการทดลองและรู้ว่าจะอธิบายผลการทดลองนั้นอย่างไร ผลการทดลองส่วนใหญ่ยอมรับได้ แต่ยังไม่สมบูรณ์ ไม่มีการอธิบายผลการทดลอง ผลการทดลองยังไม่สมบูรณ์ ไม่มีการสรุป ไม่มีการอธิบายผลการทดลอง 32 LOGO
ตัวอย่าง Rubric ประเมินแฟ้มสะสมงาน เกณฑ์ ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง เหตุผลในการเลือกชิ้นงาน แสดงออกถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้อย่างมาก และสะท้อนเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ แสดงออกถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้พอสมควร และสะท้อนเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ แสดงออกถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้พอสมควร แต่ไม่สะท้อนเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ แสดงออกถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้น้อย และไม่สะท้อนเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ 2. การจัดวาง ระบบและ ความมี ระเบียบ จัดเรียงส่วนประกอบของแฟ้มไว้อย่างเป็นระบบ ครบถ้วน และเป็นระเบียบเรียบร้อยอย่างดี จัดเรียงส่วนประกอบของแฟ้มไว้อย่างค่อนข้างมีระบบ และเป็นระเบียบเรียบร้อยอย่างดี จัดเรียงส่วนประกอบของแฟ้มไว้อย่างไม่เป็นระบบ แต่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย พอสมควร จัดเรียงส่วนประกอบของแฟ้มไว้อย่างไม่เป็นระบบ และงานขาดความเป็นระเบียบ เรียบร้อย 33 LOGO
ตัวอย่าง Rubric ประเมินแฟ้มสะสมงาน เกณฑ์ ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรุง 1. การ ดึงดูด ความสนใจ มีการเริ่มต้นที่แปลกใหม่ น่าสนใจ ใช้การดึงดูดความสนใจของผู้ฟังแบบเดิม ๆ มีการเริ่มต้น ที่น่าเบื่อ ไม่น่าสนใจ 2. เนื้อหา ผู้เรียนแสดงให้เห็นว่าได้ศึกษาค้นคว้ามาอย่างถูกต้อง ละเอียด ครอบคลุม มีการอ้างอิง ผู้เรียนค้นคว้ามาอย่างดี แต่มีจุดอ่อนอยู่บ้าง เนื้อหาที่นำเสนอ จำเป็นต้องค้นคว้า เพิ่มเติมให้สมบูรณ์มากขึ้น 34 LOGO
การใช้ผลการสอบ ใช้บอกระดับความสามารถ ใช้บอกจุดเด่น–ข้อบกพร่อง 1 2 ใช้บอกจุดเด่น–ข้อบกพร่อง 3 ใช้บอกความเจริญงอกงาม 4 ใช้บอกคุณภาพของเครื่องมือ www.themegallery.com 35
Thank You