สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
Advertisements

การเก็บข้อมูล (Data Collecting)
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
วิจัย Routine to Research ( R2R )
ส่วนผสมการตลาดและประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลากลางคืนและความพอใจของผู้ใช้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสนอ โดยกลุ่มที่ 3.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
ข้อมูลและสารสนเทศ Data & Information.
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การออกแบบปัญหาการวิจัย
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
การวเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
สภาพปัจจุบัน (Actual)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 1 สถิติเชิงพรรณนา สถิติเบื้องต้น โปรแกรม R เบื้องต้น
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
บทที่ 5 หลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา และการพยากรณ์
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
Introduction to information System
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
แนะนำหนังสือใหม่ สิงหาคม 2560
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
Introduction to Public Administration Research Method
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การวางแผนงานสาธารณสุข
การทำเหมืองข้อมูลด้วยโปรแกรม RapidMiner Studio
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติในชีวิตประจำวัน : Statistics in Everyday life อาจารย์ทวีศักดิ์ จันทร์งาม, สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

บทนำ: Introduction ทำไม สถิติ จึงสำคัญ สถิติเป็นแค่ตัวเลขจริงหรือ ?? สถิติเป็นส่วนหนึ่งของสารสนเทศ (Information) สถิติเชื่อถือได้มากน้อยแค่ไหน สถิติเป็นอย่างไรในสายตาของเรา สถิติประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ??

วิชาสถิติ หรือสถิติศาสตร์ ความหมายของสถิติ สถิติ ข้อมูลสถิติ วิชาสถิติ หรือสถิติศาสตร์ เป็นสถิติในแง่การจัดการข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลเฉพาะเรื่อง เพื่อให้ผู้สนใจนำไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่เป็นตัวเลข เป็นสถิติในแง่ของการอธิบายทฤษฎีหรือระเบียบวิธีที่ว่าด้วยการวางแผน เก็บข้อมูล นำเสนอ วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล

ประเภทของสถิติ สถิติ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ใช้ในการจัดการข้อมูล นำเสนอ และสรุปข้อมูล ใช้ในการหาข้อสรุปของประชากรจากข้อมูลตัวอย่าง

ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติ 2 ประเภท ประเภทของสถิติ ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติ 2 ประเภท

กำหนดประเด็นปัญหาที่สนใจ อธิบายลักษณะของข้อมูล กระบวนการของสถิติ อธิบายได้ด้วยการใช้ สถิติพรรณนา เช่น แผนภูมิ ตาราง หรือข้อความ ที่เหมาะสม กำหนดประเด็นปัญหาที่สนใจ แสวงหาข้อมูล อธิบายลักษณะของข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลเพื่อตอบคำถาม แสวงหาได้จาก 1. การทดลอง 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์ 4. จากหน่วยงานอื่น ๆ (ข้อมูทุติยภูมิ เป็นต้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงอนุมานที่เหมาะสมกับข้อมูล

ประเภทของข้อมูลจำแนกตามแหล่งที่มา ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่ไม่ได้เก็บจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรงแต่ได้จากข้อมูลที่ผู้อื่นรวบรวมไว้

ประเภทของข้อมูลจำแนกตามลักษณะของข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) เป็นข้อมูลที่อยู่ในรูปตัวเลข (numerical data) ที่แสดงถึงปริมาณ อาจเป็นค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คือค่าที่เป็นจำนวนเต็มหรือจำนวนนับ เช่น จำนวนรถยนต์ในเชียงใหม่ เป็นต้น หรือเป็นค่าที่ต่อเนื่อง คือค่าที่มีจุดทศนิยมได้ เช่น ความสูง เป็นต้น เป็นข้อมูลที่แสดงถึงสถานภาพ คุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ เช่น เพศ เชื้อชาติ สถานภาพสมรส ศาสนา กลุ่มเลือด เป็นต้น

แบบฝึกหัด: จำแนกประเภทของข้อมูล 1. อัตราดอกเบี้ยบัตรเครดิต ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. รหัสนักศึกษา ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 3. จำนวนอุบัติเหตุ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 4. เพศ ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 5. ศาสนา ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ 6. รายได้ต่อเดือน ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ

มาตราการวัดของข้อมูล เป็นข้อมูลแสดงความเป็นกลุ่ม เช่น เพศ นามบัญญัติ เป็นข้อมูลแสดงความเป็นกลุ่มและสามารถนำมาเรียงลำดับได้ เช่น เกรด A-F, ยศทหาร เป็นต้น เรียงลำดับ มาตราการวัดของข้อมูล อันตรภาค เป็นข้อมูลแสดงความถึงปริมาณ แต่ไม่มีศูนย์แท้ เช่น อุณหภูมิ อัตราส่วน เป็นข้อมูลแสดงความถึงปริมาณ มีศูนย์แท้ เช่น รายได้ (บาท), ยอดขาย เป็นต้น

แบบฝึกหัด: มาตราการวัดของข้อมูล 1. อัตราดอกเบี้ยบัตรเครดิต อัตราส่วน 2. รหัสนักศึกษา นามบัญญัติ 3. จำนวนอุบัติเหตุ อัตราส่วน 4. อุณหภูมิ อันตรภาค 5. ศาสนา นามบัญญัติ 6. ระดับการศึกษา เรียงลำดับ

บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน การพยากรณ์อากาศ การพยากรณ์อากาศ ใช้หลักการของ สถิติ ในการวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศ โดยอาศัยเงื่อนไขต่าง ๆ ในอดีตมาช่วยพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคต

บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน การเตือนภัยฉุกเฉิน

บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน การพยากรณ์ การเกิดโรค ค่าพยากรณ์การเกิดโรค ถือว่าเป็นตัวเลขสถิติอย่างหนึ่ง ที่มีความสำคัญที่จะนำมาใช้ในการเฝ้าระวังหรือแจ้งเตือนให้ประชาชนระมัดระวังมากขึ้นในช่วงเดือนที่มีการระบาดของโรคมาก เป็นต้น

บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน พันธุศาสตร์ สถิติ ถูกนำมาใช้เพื่อหาโอกาสของการเกิดโรคที่ถูกถ่ายถอดทางพันธุกรรม รวมทั้งการศึกษาหาปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลหรือส่งเสริมให้โรคที่ถ่ายทางพันธุกรรมเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น โรค Hemophilia (โรคทำให้มีภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ทำให้เลือกไหลออกมาง่ายและหยุดยาก)

บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน ทางการแพทย์

บทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน การตรวจสอบคุณภาพ สถิติ เป็นเครื่องมือที่สำคัญต่อการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ หรือสินค้า ก่อนที่จะนำออกมาว่างขาย หรือมาบริโภค โดยถ้าผ่านเกณฑ์คุณภาพก็จะได้รับ โลโก้ QC หรือ QS นั้นเอง

ข้อควรระวังในการสรุปผลจากสถิติ กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นกลาง บริษัทผู้ให้ทุนวิจัย เลือกหน่วยตัวอย่างที่ทำให้ผลการวิจัยเป็นไปตามความต้องการของบริษัทผู้ให้ทุนวิจัย หน่วยวิจัย

ข้อควรระวังในการสรุปผลจากสถิติ การเลือกค่ากลางที่เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล ข้อมูลมีลักษณะเบ้ขวา ค่าเฉลี่ย (mean) ไม่ใช่ค่ากลางที่เหมาะสม ควรใช้ ค่ามัธยฐาน (median) แทน ข้อมูลมีลักษณะเบ้ซ้าย ค่าเฉลี่ย (mean) ไม่ใช่ค่ากลางที่เหมาะสม ควรใช้ ค่ามัธยฐาน (median) แทน ข้อมูลมีลักษณะสมมาตร ค่าเฉลี่ยเป็นค่ากลางที่เหมาะสม

ข้อควรระวังในการสรุปผลจากสถิติ การกำหนดมาตราส่วนของแผนภูมิ ให้ความรู้สึกว่ามูลค่าการส่งออกของปี 2554 มีแนวโน้มลดลงในช่วง 3 เดือนสุดท้าย ให้ความรู้สึกว่ามูลค่าการส่งออกของปี 2554 มีแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงมากนักตลอดทั้งปี

ประวัติผู้สอน อาจารย์ทวีศักดิ์ จันทร์งาม สาขาวิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วท.บ. (สถิติประยุกต์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วท.ม. (ชีวสถิติ) มหาวิทยาลัยมหิดล