การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล 22/05/2016
ขอบเขตเนื้อหาบรรยาย (3 ชั่วโมง) ความหมาย คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง บุคลากรในงานอาชีวอนามัย ภาระกิจกลุ่มงานอาชีวเชกรรม คลินิคโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม(โรคจาการทำงาน) ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ 5 กลุ่มโรคหลัก การเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ10 กลุ่มโรค ตามแบบ 506/2สำนักระบาดวิทยา การทำข้อสอบ on line (E-Learning) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ขอบเขตเนื้อหาการนำเสนอรายงาน (3 ชั่วโมง) การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว่าเป็นรายกลุ่ม การตรวจรูปเล่มรายงาน การอภิปรายซักถาม สรุปบทเรียน ทบทวน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แหล่งข้อมูล กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข http://www.envocc.org/html/ สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย http://www.anamai.moph.go.th/occmed/indexassocontact.htm สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม http://www.envocc.org/html/modules.php?name=Downloads การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
คำที่เกี่ยวข้อง 1. ศูนย์สุขภาพและอาชีวอนามัย (Wellness &Occupational Health Service Center) 3. Occupational Department 4. หน่วยอาชีวเวชศาสตร์ 5. Occupational Disease Clinic การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
บุคลากรในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ด้านอาชีวนิรภัย ด้านการยศาสตร์ ด้านอาชีวเวชศาสตร์ ด้านเวชกรรมฟื้นฟู การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. บุคลากรทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมหรือนักอาชีวสุขศาสตร์ หน้าที่ สืบค้น ตรวจประเมิน เสนอมาตรการในการควบคุมสิ่งแวดล้อมในการทำงานเพื่อป้องกันโรค ที่เกิดจากการทำงานและโรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. บุคลากรทางด้านอาชีวนิรภัย เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ นักวิทยาศาสตร์อาชีวอนามัยและความปลอดภัย วิศวกรความปลอดภัย หน้าที่ ตรวจสภาพการทำงานและสิ่งแวดล้อมการทำงานเพื่อประเมินป้องกัน และควบคุมอุบัติเหตุ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
3. บุคลากรทางด้านการยศาสตร์ นักการยศาสตร์ หน้าที่ จัดและปรับปรุงสภาพการทำงานให้เหมาะสมกับร่างกายและจิตใจของคนงาน การจัดที่นั่ง การเคลื่อนย้ายวัสดุอย่างถูกวิธี การออกแบบอุปการณ์ให้เหมาะสมกับขนาดและอวัยวะของร่างกาย การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
4. บุคลากรทางด้านอาชีวเวชศาสตร์ แพทย์อาชีวอนามัย (แพทย์อาชีวเวชศาสตร์) พยาบาลอาชีวอนามัย หน้าที่ การตรวจสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ รักษาสุขภาพ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
5. บุคลากรทางด้านเวชกรรมฟื้นฟู แพทย์เฉพาะสาขา นักกายภาพบำบัด นักอาชีวบำบัด นักกายอุปกรณ์ นักจิตบำบัด หน้าที่ การฟื้นฟูสภาพความพิการของร่างกายและสภาพจิตใจ ของผู้ประกอบอาชีพ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ (occupational physician) แพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่งที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลสุขภาพของคนทำงาน อภิไธยเต็มที่กำหนดโดยแพทยสภาคือ “แพทย์เวชศาสตร์ป้องกัน (อาชีวเวชศาสตร์)” ข้อมูล ปี พ.ศ. 2554 มีจำนวน 117 คน "...Occupational Medicine is the branch of clinical medicine most active in the field of Occupational Health. Its principal role is the provision of health advice to organizations and individuals to ensure that the highest standards of Health and Safety at Work can be achieved and maintained..." มีการเปิดสอบรับรองโดยแพทยสภามาตั้งแต่ พ.ศ. 2539 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ (occupational physician) พ.ศ. 2551 มีจำนวน 99 คน เพศชาย 80 คน และเพศหญิง 19 คน อายุเฉลี่ย 47.8 ปี ภาครัฐ (โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย กระทรวงสาธารณสุข) 71 คน ภาครัฐ (โรงพยาบาลเอกชน 4 คน แพทย์ประจำโรงงาน) 9 คน แพทย์อิสระ แพทย์เกษียณอายุ หรือเจ้าของกิจการ 15 คน จังหวัดมากที่มีมากที่สุดคือ กรุงเทพมหานคร 53 คน ชลบุรี 7 คน ระยอง 7 คน สงขลา 4 คน และสมุทรสาคร 4 คน พ.ศ. 2552 มีแพทย์ที่จบการฝึกอบรมไปแล้ว ทั้งหมด 488 คน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ (occupational physician) สถานที่ฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน (Resident) ปัจจุบันมี 5 แห่งดังนี้ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
(ตัวอย่าง) หน้าที่ของพยาบาลอาชีวเวช 1. ดูแลรับผิดชอบการให้บริการด้านอาชีวอนามัย 2. วางแผนงานและบริหารจัดการ Occupational Health Nursing Program ให้ครอบคลุมและเหมาะสม 3. การขนส่งและจัดเก็บวัตถุอันตรายต่างๆ (หมายรวมถึง สารกัมมันตรังสี สารปลอดรังสี ก๊าซอันตราย สารเคมีเป็นพิษ และสารชีววัตถุ) 4. มีส่วนร่วมในการวางแผนงานที่เกี่ยวข้องกับการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยมีความสอดคล้องและสนับสนุนเป้าหมายการดำเนินงานของสถาบันฯ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
(ตัวอย่าง) หน้าที่ของพยาบาลอาชีวเวช 5. มีส่วนร่วมในการจัดทำ แผนนโยบายเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แผนการปฏิบัติงาน 6. จัดทำเอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานและเอกสารแนะนำให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของ OSHA เพื่อนำไปเผยแพร่และแจกจ่ายให้แก่บุคลากรยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ 7. ประสานความร่วมมือด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับบุคลากรทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะกรรมการความปลอดภัย ในการจัดกิจกรรมส่งเสริม 8. ให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่เหมาะสมให้แก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่และบุคลากรบรรจุใหม่ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
หน้าที่ของนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม ทำหน้าที่ชี้นำในการจัดทำโครงการทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม จัดฝึกอบรมให้คนงานและชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคจากการทำงานและ เหตุรำคาญต่อชุมชน ศึกษาเกิดโรคจากการทำงาน และปรับปรุงค่า TLV หรือมาตรฐานเพื่อรักษาสุขภาพและประสิทธิภาพของคนงาน ทำการศึกษาวิจัยเพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับผลของการทำงานที่มีต่อสุขภาพอนามัย และการป้องกันโรคจากการทำงาน มลพิษต่อชุมชน เสียง สิ่งรบกวนและปัญหาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง สำรวจอันตรายจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ( 8 ข้อ) (รศ.พรพิมล กองทิพย์) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
สำรวจอันตรายจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในการทำงาน( 8 ข้อ) สำรวจอันตรายจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ( 8 ข้อ) ศึกษากระบวนการผลิตและขั้นตอนต่างๆในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะงาน สารเคมีที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ ผลผลิตที่ได้ ผลพลอยได้ จำนวนคนงาน และชั่วโมงการทำงาน ทำการตรวจวัดที่เหมาะสม เพื่อหาขนาดของสารที่คนงานหรือชุมชนได้รับ โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสม ควรศึกษาและตรวจสอบคุณสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม ศึกษาโดยใช้การตรวจวัดทางชีวภาพ เช่น ตรวจเลือดหรือปัสสาวะ เพื่อเป็นข้อมูลว่าคนงานได้รับสารเข้าร่างกายมากหรือน้อยเพียงใด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
สำรวจอันตรายจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในการทำงาน( 8 ข้อ) สามารถแปลผลการตรวจวัดในรูปของอันตรายต่อสุขภาพคนงาน ประสิทธิภาพของคนงานและการรบกวนหรืออันตรายต่อชุมชน แล้วนำผลสรุปเสนอต่อผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ดูแลสุขภาพอนามัยของคนงานและตัวแทนคนงาน สามารถตัดสินใจเกี่ยวกับความจำเป็นในการติดตั้งระบบควบคุมหรือประสิทธิภาพของระบบควบคุมในการควบคุมสภาพแวดล้อมในการทำงานและสิ่งแวดล้อม การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
สำรวจอันตรายจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในการทำงาน( 8 ข้อ) เป็นผู้เตรียมกฎ ข้อบังคับ มาตรฐาน วิธีการทำงานที่ถูกต้องและปลอดภัย และการป้องกันสิ่งรำคาญต่อชุมชน สามารถให้การต่อศาล กรรมการจ่ายเงินทดแทน หน่วยงานที่ออกกฎหมายในเรื่องที่เกี่ยวกับสุขศาสตร์อุตสาหกรรมในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เตรียมข้อความสำหรับติดฉลาก (Labels) และข้อควรระวังเกี่ยวกับสารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ให้กับคนงานหรือชุมชน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ภารกิจกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม (ภายนอก) งานคลินิกอาชีวเวชกรรม ( 3 ภาระกิจ) งานอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ( 2 ภาระกิจ) งานตรวจสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพ ( 8 ภาระกิจ) งานอาชีวอนามัยในภาคเกษตรกรรม ( 2 ภาระกิจ) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. งานคลินิกอาชีวเวชกรรม Physical examination before check in annual year risk factor Diagnosis and treatment Occupational Health education Special physical examination (Occupational equipment) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. งานอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม In work place Physical examination การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. งานอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม In work place บริการให้คำปรึกษาในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อป้องกันโรคจากการทำงานแก่สถานประกอบการ ตรวจประเมินและวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ออกแบบการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงของลักษณะงาน สร้างกระบวนการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ / โรคจากการทำงาน Control and prevention occupational disease เฝ้าระวัง สอบสวนโรคและติดตามเยี่ยมบ้าน / ที่ทำงานผู้ป่วย สร้างเสริมพฤติกรรมป้องกันโรคจากการทำงานและความปลอดภัย การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. งานอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม Physical examination ให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีและตรวจตามปัจจัยเสี่ยงแก่สถานประกอบการและหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงาน จัดโปรแกรมและให้คำแนะนำการจัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีและการตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง ให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพกลุ่มโรคทั่วไปและอาชีวสุขศึกษา ประเมินสมรรถภาพคนทำงานโดยการตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือทาง อาชีวเวชศาสตร์ ได้แก่ การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น การตรวจสมรรถภาพปอด การทดสอบกล้ามเนื้อมือ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
3. งานตรวจสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพ Health Promotion ตรวจสุภาพประจำปี กลุ่มสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ส่งเสริมสุขภาพแรงงานนอกระบบ ส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในกลุ่มผู้ประกันตน เฝ้าระวังและสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในชุมชน งานอาชีวอนามัยในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการให้บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ประกันสังคม หน่วยแพทย์ตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. Health Promotion สร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านปัญหาสุขภาพทั่วไปและปัญหาสุขภาพจากการประกอบอาชีพในกลุ่มข้าราชการ พนักงานสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ สร้างรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่มปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการในกลุ่มข้าราชการ พนักงานสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบที่ให้บริการ ผลิตสื่อเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่มปัญหาสุขภาพ ของผู้รับบริการ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. ตรวจสุภาพประจำปี กลุ่มสิทธิข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน ตรวจสุขภาพประจำปีของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลนครพนม วิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพของเจ้าหน้าที่ สรุปและรายงานผลการตรวจสุขภาพ จัดทำโครงการเพื่อแก้ไข/ลดการเกิดโรค/ภาวะแทรกซ้อนในเจ้าหน้าที่กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ก่อนเข้างาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
3. ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การตรวจสุขภาพและประกัน สุขภาพคนต่างด้าว หลบหนี เข้าเมือง (สัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชา) ลงวันที่ 22 มีนาคม 2556 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2556 อนุมัติให้ กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลักในการให้การดูแลทางการแพทย์และ สาธารณสุขแก่คนต่างด้าวที่ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม และผู้ติดตามทั้งหมด บัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าวทั่วไป (Health Card for Uninsured Foreigner) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
3. ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
4. ส่งเสริมสุขภาพในกล่มแรงงานนอกระบบ (13 ข้อ) 4.1 ประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงานของแรงงาน นอกระบบ 4.2 ประเมินสมรรถภาพคนทำงานโดยการตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือทาง อาชีวเวชศาสตร์ 4.3 หาแนวทางและแก้ไขความเสี่ยงทางสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงาน ของกลุ่มแรงงานนอกระบบ 4.5 เฝ้าระวังทางสุขภาพโดยการตรวจสุขภาพประจำปีและตรวจตามความเสี่ยง 4.6 ป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ 4.7 ให้การรักษาและฟื้นฟูสุขภาพแรงงานนอกระบบ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
4. ส่งเสริมสุขภาพในกล่มแรงงานนอกระบบ 4.8 สร้างเสริมสุขภาพด้านปัญหาสุขภาพทั่วไปและปัญหาสุขภาพจาก การประกอบอาชีพ 4.9 สำรวจและประเมินสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานต่างๆโดยใช้แบบประเมิน และเครื่องมือทางอาชีวเวชศาสตร์ในสถานประกอบการ 4.10 ประเมินความเสี่ยงในการทำงานของพนักงาน 4.11 ตรวจสมรรถภาพทางกายตามความเสี่ยง 4.12 เฝ้าระวังพิษและสารเคมีในสถานประกอบการ 4.13 วิเคราะห์ผลและวางแนวทางแก้ไขปัญหา การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แรงงานนอกระบบ “แรงงานที่อยู่ในการจ้างงานในภาคเศรษฐกิจที่ไม่เป็นทางการ (informal sector) ซึ่งมีลักษณะเป็นกิจการขนาดเล็กตั้งได้ง่าย มีลักษณะเป็นธุรกิจในครัวเรือน มักใช้วัตถุดิบในประเทศ มีการใช้แรงงานเป็นหลัก และมีการดัดแปลงเทคโนโลยีง่าย ๆ มาใช้ เป็นแรงงานอิสระที่ทำกิจกรรมเพื่อความอยู่รอด เช่น หาบเร่ริมถนน คนขัดรองเท้า คนเก็บขยะ คนเก็บเศษกระดาษและโลหะ แรงงานรับใช้ในบ้านที่รับค่าจ้างจากครัวเรือน ผู้รับงานไปทำที่บ้าน และคนงานในโรงงานที่ไม่ขึ้นทะเบียน ซึ่งเป็น “ลูกจ้างแอบแฝง” (disguised wage workers) ในเครือข่ายการผลิต และผู้ประกอบอาชีพอิสระในสถานประกอบการขนาดจิ๋วซึ่งทำงานด้วยตนเอง หรือมีสมาชิกในครอบครัว หรือมีผู้ฝึกงานหรือมีลูกจ้างช่วย” องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) (สำนักงานแรงงานระหว่างประเทศ และสำนักประกันสังคม 2546) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แรงงานนอกระบบ “ผู้ทำงานที่ไม่ได้รับความคุ้มครองและหลักประกันทางสังคม จากทางราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การปกครองส่วนภูมิภาค องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน ลูกจ้างรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ และลูกจ้างที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายแรงงาน ได้แก่ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 พระราชบัญญัติประกันสังคม 2533 พระราชบัญญัติเงินทดแทน 2537” สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2548 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
แรงงานนอกระบบ “ผู้ใช้แรงงานที่ไม่ได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายประกันสังคม เป็นบุคคลที่ไม่ใช่ข้าราชการและมีเงินเดือนประจำ ได้แก่ ลูกจ้างในกิจการภาคเกษตร และประมง ลูกจ้างที่จ้างในลักษณะเป็นครั้งคราว หรือตามฤดูกาล ลูกจ้างที่ทำงานบ้าน ผู้ประกอบอาชีพอิสระทั้งภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร ผู้รับงานไปทำที่บ้านและผู้รับจ้างทำของ” สำนักงานประกันสังคม (2548) “เป็นผู้ที่ทำงานในภาคเศรษฐกิจที่ไม่เป็นทางการหรือในสาขานอกระบบ ซึ่งเป็นการทำงานที่ไม่มีระเบียบแบบแผน และไม่มีการรวมตัวจัดตั้งเป็นองค์กร แรงงงานนอกระบบ” กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก ระยอง ชลบุรี จันทบุรี ตราด สระแก้ว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ให้บริการคำปรึกษา สืบค้นข้อมูล ตอบปัญหา ตรวจวินิจฉัย รักษา และส่งต่อปัญหาเกี่ยวกับสารพิษและอุบัติภัยสารเคมีโดยเฉพาะจากโรงงานอุตสาหกรรม เตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินสารเคมีรั่ว ตรวจวินิจฉัยและรักษาอาการเกิดพิษและผลไม่พึงประสงค์ด้านพิษวิทยาและวินิจฉัยและหาสาเหตุของโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
4. งานอาชีวอนามัยในภาคเกษตรกรรม เฝ้าระวังพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร Enzyme Cholinesterase Monitoring ศึกษาผลกระทบการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
5. ส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกในกลุ่มผู้ประกันตน การตรวจคัดกรองความเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การรับฝากครรภ์และการดูแลหลังคลอด กรณีผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน การวางแผนครอบครัว การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. การตรวจคัดกรองความเสี่ยง การตรวจสุขภาพและการค้นหาประวัติครอบครัวเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิด โรคเรื้อรัง อุบัติเหตุ โรคไม่ติดต่อที่สำคัญ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ไขมันในหลอดเลือด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เกณฑ์การพิจารณาว่าผู้ประกันตนที่รับการตรวจเข้าข่ายผู้มีความเสี่ยง ประวัติสูบบุหรี่มากกว่าครึ่งซองต่อวัน ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ประวัติชอบรับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม อย่างใดอย่างหนึ่ง รับประทานผักน้อย ประวัติการออกกำลังกายนานๆ ครั้ง การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประวัติการไม่สวมหมวกกันน็อก หรือสวมเป็นบางครั้งขณะขับขี่หรือ ซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ BMI > 23 เส้นรอบเอว > 90 ซม. (36 นิ้ว) ความดันโลหิต ตัวบน (Systolic) สูงกว่า 140 mmHg. ตัวล่าง (Diastolic) สูงกว่า 90 mmHg. ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 140 mg.% (หลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
3. การรับฝากครรภ์และการดูแลหลังคลอด กรณีผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน ผู้มีสิทธิ ผู้ประกันตนหญิงไทย(สิทธิประกันสังคม) ที่ส่งเงินสมทบให้กองทุนประกันสังคมไม่ครบ 7 เดือนก่อนการเข้ารับบริการฝากครรภ์ และตรวจดูแลสุขภาพหลังคลอด การฝากครรภ์ และการตรวจสุขภาพหลังคลอด การตรวจสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และการตรวจสุขภาพภายหลังการคลอด โดยการตรวจนั้นอยู่ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ค่าบริการ (บาท/ครั้ง/ราย) การวางแผนครอบครัว สปสช. จะจ่ายค่าชดเชยและค่าบริการตามผลงานรายบุคคลในอัตรา ดังนี้ บริการ ค่าบริการ (บาท/ครั้ง/ราย) ยาเม็ดคุมกำเนิด 40 ยาฉีดคุมกำเนิด 60 ยาฝังคุมกำเนิด 190 ห่วงอนามัย 180 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
6. เฝ้าระวังและสอบสวนโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในชุมชน (Occupational and Environmental diseases Surveillance system) ได้เริ่มพัฒนาขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2546 กำหนดระบบเฝ้าระวังโรคที่สำคัญใน 5 กลุ่มกลุ่มโรคติดต่อ กลุ่มโรคติดต่อ กลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กลุ่มการบาดเจ็บ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
6. เฝ้าระวังและสอบสวนโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ที่สามารถให้ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง สามารถแสดงสถานการณ์แนวโน้มของโรคได้อย่างชัดเจน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการแสดงสถานการณ์ การติดตามสอบสวน ค้นหาหาสาเหตุของโรค เพื่อหาแนวทางการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ เช่น พนักงานในสถานประกอบการ แรงงานนอกระบบ และผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงฯ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
6. เฝ้าระวังและสอบสวนโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อการติดตามตรวจสอบหาความผิดปกติที่เกิดขึ้น เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการติดตามผู้ป่วยและการหาสาเหตุ แหล่งของปัญหาที่ เกิดขึ้น เพื่อการกำหนดมาตรการในการควบคุมป้องกัน เพื่อไม่ให้มีการกระจายความรุนแรงของโรคและผลกระทบต่อสุขภาพมากขึ้น ให้การรักษาผู้ป่วยหรือผู้ได้รับผลกระทบได้ทันที การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
รายงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคจากการประกอบอาชีพ 10 อันดับ (1) โรคปอดและทางเดินหายใจ (Lung and Respiratory diseases) (2) โรคเหตุจากสภาวะทางกายภาพ (Physical Hazard) (3) โรคผิวหนัง (Skin diseases) (4) โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal diseases) (5) พิษจากสัตว์ (Toxic effect of contact with venomous animals) แบบ 506/2สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
รายงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (6) พิษจากพืช (Toxic effect of contact with plants) (7) พิษโลหะหนัก (Heavy metal poisoning) (8) พิษสารระเหยและตัวทำละลาย (Toxic effect of solvents) (9) พิษจากก๊าซ (Toxic effect of gas and vapor poisoning (10) พิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมี อื่น ๆ (Toxic effect of pesticides and other chemical แบบ 506/2สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
7.งานอาชีวอนามัยในสถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการให้บริการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ประกันสังคม ให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีและตรวจสุขภาพ ตามความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยเชิงรุก ตรวจวัดความดัน/ ตรวจเลือด/ ตรวจการได้ยิน ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น/ เอกซเรย์ / ตรวจสมรรถภาพปอด บริการเดินสำรวจสภาพแวดล้อมการทำงานและสถานประกอบการ ให้คำปรึกษาเพื่อค้นหาคัดกรองโรคจากการทำงาน ให้บริการสำรวจสภาพแวดล้อมในการทำงาน การให้คำปรึกษาค้นหาโรคจากการทำงาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
8. หน่วยแพทย์ตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ ให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีและตรวจสุขภาพ ตามความเสี่ยง ด้านอาชีวอนามัยเชิงรุก ตรวจวัดความดันโลหิต/ ตรวจเลือด/ ตรวจการได้ยิน ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น/ เอกซเรย์ / ตรวจสมรรถภาพปอด ให้คำปรึกษาเพื่อค้นหาคัดกรองโรคจากการทำงาน การให้คำปรึกษาค้นหาโรคจากการทำงาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
คลินิกรักษาโรคจากการประกอบอาชีพ/อาชีวเวชศาสตร์ เริ่มก่อตั้ง พ.ศ. 2548 จำนวน 26 จังหวัด กทม.(รพ.นพรัตนราธานี) นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ ชลบุรี ระยอง ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี นครปฐม นครราชสีมา อุบลราธานี อุดรธานี ขอนแก่น สุรินทร์ บุรีรัมย์ นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง สุราษฎร์ธานี สงขลา ภูเก็ต ปี 2553 เพิ่มอีก 22 แห่ง รวมเป็น 48 แห่ง ปี 2555 มี 88 แห่ง ปี 2559 ตั้งเป้าหมายให้ครบ 96 แห่งทั่วประเทศ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
คลินิกรักษาโรคจากการประกอบอาชีพ /อาชีวเวชศาสตร์ แพทย์อาชีวอนามัย (แพทย์อาชีวเวชศาสตร์) พยาบาลอาชีวอนามัย นักอาชีวอนามัย นักวิชาการสาธารณสุข การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
คลินิกรักษาโรคจากการประกอบอาชีพ/ /อาชีวเวชศาสตร์ ให้บริการครบทั้ง 4 มิติ บริการเชิงรุก 1.1 การส่งเสริมสุขภาพ บริการเชิงรับ 2.1 การรักษาพยาบาล 2.2 การวินิจฉัยโรค 2.3 การฟื้นฟูสมรรถภาพ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. บริการเชิงรุก 1.1 บริการตรวจสุขภาพทางกายตามความเสี่ยง (ทั้งในและนอกคลินิค) สมรรถภาพการได้ยิน สมรรถภาพการทำงานของปอด สมรรถภาพการมองเห็น ตรวจหาสารเคมีต่างๆ ในเลือด และปัสสาวะ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. บริการเชิงรุก รายการตรวจสมรรถภาพการมองเห็น 1. ตรวจการประสานสายตา 2. ตรวจความชัดเจนในการมองเห็น 3. ตรวจความสามารถในการมองเห็นภาพสามมิติ 4. ตรวจการรับรู้สีก 5. ตรวจตาเข 6. ตรวจลานสายตา การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น กลุ่มอาชีพที่1 งานสำนักงาน จะใช้กับลูกจ้างที่มีหน้าที่ ทำบัญชี งานธุรการที่ปฏิบัติงานอยู่ในสำนักงาน กลุ่มอาชีพที่2 งานตรวจสอบคุณภาพและชิ้นส่วนที่ขนาดเล็ก จะใช้กับลูกจ้างที่มีหน้าที่ตรวจสอบเพื่อดูชิ้นงานที่มีตำหนิ หรือดูชิ้นส่วน ที่มีขนาดเล็ก หรือการใช้เครื่องจักรกลขนาดเล็ก รวมทั้งงานประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ที่ต้องใช้ตามองอย่าง ใกล้ชิด กลุ่มอาชีพที่3 งานควบคุมเครื่องจักรที่มีการเคลื่อนไหว จะใช้กับลูกจ้างที่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการขับรถบรรทุก รถยกของ รถเครน รถขุดดิน รวมทั้งควบคุมอุปกรณ์ยกของขึ้นสู่ที่สูง การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
รายการตรวจสมรรถภาพการมองเห็น กลุ่มอาชีพที่ 4 งานควบคุมเครื่องจักรที่แขนควบคุมได้ถึง จะใช้กับลูกจ้างที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลต่างๆ เช่น เครื่อง ตัด เครื่องเจาะ เครื่องปั๊ม เครื่องไส เครื่องกลึง เป็นต้นลูกจ้าง เข็นรถ กลุ่มอาชีพที่ 5 งานช่าง จะใช้กับลูกจ้างที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานช่างต่างๆ หรืองานที่ต้องอาศัยทักษะความชำนาญเฉพาะ เช่น ช่างไม้ ช่างไฟฟ้า ช่างประปา ช่างสีช่างฟิต กลุ่มอาชีพที่ 6 งานที่ไม่ต้องใช้ความชำนาญ จะใช้กับลูกจ้างที่มีหน้าที่ทั่วๆไป เช่นลูกจ้างทำความสะอาด ลูกจ้างยกของ ลูกจ้าง เข็นรถ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. บริการเชิงรุก 1.1 บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม 1.2 บริการให้คำปรึกษาโครงการ ลด ละ เลิก บุหรี่ ในสถานประกอบการ 1.3. บริการตรวจสุขภาพ แรกเข้างาน ระหว่างงาน กลับเข้าทำงานหลังจากหายบาดเจ็บ หรือหายป่วย การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
1. บริการเชิงรุก 1.4 เฝ้าระวังและสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพ และโรคจากสิ่งแวดล้อมนอกโรงพยาบาล 1.5 ให้คำปรึกษาทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน แก่สถานประกอบการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.6 ให้บริการฝึกอบรม การป้องกันอันตรายโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม แก่บุคคลของหน่วยงานต่างๆ ท่าทางการทำงานที่เหมาะสม การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม (Personal protective equipment :PPE) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. บริการเชิงรับ 2.1 วินิจฉัยโรคจากการทำงาน จากแพทย์เฉพาะทางสาขาอาชีวเวชศาสตร์ เจ็บป่วย ได้รับอันตรายจากการทำงาน เสียงดังเกินไป แสงสว่างจ้าเกินไปหรือไม่เพียงพอ ใช้สารเคมีอันตรายในการทำงาน เกิดอุบัติหตุจากเครื่องกล เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า สภาพการทำงานไม่เหมาะสม ยืนนานๆ นั่งนานๆ ทำงานซ้ำๆ ยกของหนัก เคลื่อนย้ายของไม่ถูกวิธี เครียด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
2. บริการเชิงรับ 2.2 ให้การรักษาโรค ในกรณีที่ตรวจพบโรค 2.3 ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 2.3 เฝ้าระวังและสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมใน โรงพยาบาล 2.4 การตรวจสุขภาพประจำปี 2.5 การออกใบรับรองแพทย์สมัครงาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก 1. งานฐานข้อมูลสารเคมีอันตราย รวบรวมและพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล สนับสนุนข้อมูล จัดระบบรายงานผู้ป่วยในเครือข่าย เฝ้าระวังอันตรายจากสารเคมี 2. งานสารต้านพิษ สำรวจรวบรวมวิเคราะห์หาชนิดสารต้านพิษให้เหมาะสมกับพื้นที่ จัดหา/เตรียมยาต้านพิษให้พร้อมตลอด 24 ชั่วโมง พัฒนาเครือข่ายการใช้ยาร่วมกัน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก(ต่อ) 3. งานรับอุบัติภัยจากสารเคมี รับปรึกษาผู้ป่วยได้รับสารเคมีในกรณีฉุกเฉิน ร่วมทีมและร่วมฝึกซ้อมสนับสนุนวิชาการและการจัดการเมื่อเกิดอุบัติภัยจากสารเคมี สร้างระบบการป้องกันและเฝ้าระวังอุบัติภัยจากสารเคมี 4. งานรักษาพยาบาลพิษจากสารเคมี ให้คำปรึกษาตรวจรักษาสนับสนุนข้อมูลด้านการรักษา แก่ผู้ได้รับอันตรายจากสารพิษ พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จัดทำทะเบียนผู้ป่วยสารพิษและติดตามข้อมูลผู้ป่วย การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก(ต่อ) 5. งานตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับพิษวิทยา พัฒนาระบบการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้เหมาะสมกับพื้นที่ สร้างเครือข่ายการตรวจทางห้องปฏิบัติการในเขตภาคตะวันออก การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก สถานที่ตั้ง กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้และสื่อสารความเสี่ยงต่อสุขภาพ ให้คำปรึกษาแก่ประชาชน สร้างภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน แก้ไขปัญหาโรคหรือผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล < Pangpen Lueangektin > 22/05/2016