ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
Advertisements

Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
Structure Programming การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
องค์ประกอบฮาร์ดแวร์ คุณลักษณะเฉพาะของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยชุดคำสั่งหรือโปรแกรม สามารถจำข้อมูลหรือชุดคำสั่งได้ ทำงานได้อย่างถูกต้อง ทำงานได้อย่างรวดเร็ว.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
ตอนที่ 2 โครงสร้างภาษา C Arduino เบื้องต้น
เกม คณิตคิดเร็ว.
บทที่ 2-3 ภาษาซีเบื้องต้น
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
โปรแกรมย่อย อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
โครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับ
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Object-Oriented Programming Paradigm
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Week 5 C Programming.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Chapter 3 : Array.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โครงสร้างภาษาซี Structure of C ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ Structure of C

โครงสร้างภาษาซี  โครงสร้างโปรแกรม  โปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น  โปรแกรมอินเทอร์แรคทีฟ Structure of C

โครงสร้างโปรแกรม ลักษณะโครงสร้างของภาษาซี แบ่งได้ 5 ส่วน ดังนี้ พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ (Preprocessor directives) ส่วนประกาศ (Global declarations) ส่วนฟังก์ชันหลัก (The main function) การสร้างฟังก์ชันและการใช้ฟังก์ชัน (Uses-defined function) ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comments) Structure of C

พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ (Preprocessor directives) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมต้องมี ใช้สำหรับเรียกไฟล์ ที่โปรแกรมต้องการในการทำงานและกำหนดค่าต่างๆ โดยคอมไพล์เลอร์จะกระทำตามคำสั่งก่อนที่จะคอมไพล์โปรแกรม จะต้องเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย ไดเร็กทีฟ (Directives) # ตามด้วยชื่อโปรแกรมหรือชื่อตัวแปรที่ต้องการกำหนดค่า อาจเรียกส่วนนี้ว่า ส่วนหัวโปรแกรม (Header Part) Structure of C

พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ(Preprocessor directives)(ต่อ) ไดเรกทีฟที่ใช้บ่อยๆ ได้แก่ #include แจ้งให้คอมไพเลอร์อ่านไฟล์อื่นเข้ามาคอมไพล์ร่วมด้วย รูปแบบ #include ชื่อไฟล์ Structure of C

พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ(Preprocessor directives)(ต่อ) เช่น #include “stdio.h” หมายถึง อ่านไฟล์ stdio.h เข้ามาด้วย #include “Pro1.c” หมายถึง อ่านไฟล์ Pro1.c เข้ามาด้วย การกำหนดชื่อไฟล์ตามหลัง #include ใช้เครื่องหมาย <> แทนได้ เช่น #include<stdio.h> Structure of C

พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ(Preprocessor directives)(ต่อ) #define เป็นการกำหนดค่านิพจน์ต่างๆ ให้กับชื่อตัวแปร มีรูปแบบดังนี้ รูปแบบ #define NAME VALUE Structure of C

พรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ(Preprocessor directives)(ต่อ) เช่น #define END 20; กำหนด END มีค่าเท่ากับ 20 #define A 5*6+3; กำหนด A มีค่า 5*6+3 Structure of C

 ส่วนประกาศ (Global declarations) ส่วนนี้ใช้ประกาศตัวแปรหรือฟังก์ชันที่ต้องใช้ในโปรแกรม โดยทุกส่วนของโปรแกรมสามารถเรียกใช้ข้อมูลในส่วนนี้ได้ ส่วนนี้บางโปรแกรมอาจไม่มีก็ได้ Structure of C

 ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main function) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมี ซึ่งประกอบด้วยประโยคคำสั่งต่างๆ ที่จะให้โปรแกรมทำงาน โดยนำคำสั่งต่างๆ มาเรียงต่อกัน และแต่ละประโยคคำสั่งจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน (Semicolon ;) ส่วนนี้เริ่มต้นด้วย main() ตามด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด { และจบด้วยปีกกาปิด } รูปแบบ main(){ } Structure of C

 ส่วนกำหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง (Uses-defined functions) เป็นการเขียนคำสั่งและฟังก์ชันต่างๆ ขึ้นใช้ในโปรแกรม โดยต้องอยู่ในเครื่องหมาย { } และต้องสร้างฟังก์ชันหรือคำใหม่ที่ให้ทำงานตามที่เราต้องการ และสามารถเรียกใช้ได้ภายในโปรแกรม Structure of C

#include<stdio.h> main() { เช่น #include<stdio.h> main() { function(); /* เรียกใช้ฟังก์ชันที่สร้างขึ้น */ } function() /* สร้างฟังก์ชันใหม่ โดยให้ชื่อว่า function */ return; /* คืนค่าที่เกิดจากการทำฟังก์ชัน */ Structure of C

 ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program comments) ส่วนนี้ใช้เขียนคอมเมนต์โปรแกรม เพื่ออธิบายการทำงานต่างๆ ทำให้ผู้ศึกษาโปรแกรมในภายหลังทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อคอมไพล์โปรแกรมส่วนนี้จะถูกข้ามไป Structure of C

โปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ภาษา C เป็นภาษาที่การเขียนโปรแกรมเป็นแบบโครงสร้างโมดูล โดยจะเขียนโมดูลต่างๆ เก็บไว้ใช้ แต่ละโมดูลสามารถเรียกมาใช้ในภายหลังได้ Structure of C

ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมขั้นต้นเป็นดังนี้ #include<stdio.h> main() { } ส่วนหัว ส่วนฟังก์ชันหลัก Structure of C

จากตัวอย่างโปรแกรมประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนหัว หรือส่วนเรียกโมดูลอื่นๆ เข้ามาแปรความหมายร่วม โดยเป็นส่วนของพรีโพรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ ซึ่งอาจเป็นโมดูลที่มีอยู่แล้วในภาษาซีหรือโมดูลที่สร้างขึ้นมาเอง ส่วนฟังก์ชันหลัก ซึ่งเป็นส่วนคำสั่งหรือสเตทเมนท์ (Statement) เป็นส่วนที่เก็บคำสั่งต่างๆ ที่จะให้โปรแกรมทำงาน โดยเริ่มต้นด้วยปีกกาเปิด { และจบด้วยปีกกาปิด } ส่วนนี้มีมากกว่าหนึ่งฟังก์ชันก็ได้ แต่ทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชัน main ซึ่งเป็นฟังก์ชันหลักของโปรแกรม Structure of C

เมื่อสั่ง Run โปรแกรมจะพิมพ์ COMPUTER ออกมา ตัวอย่างโปรแกรม #include<stdio.h> main() { printf(“COMPUTER”); } เมื่อสั่ง Run โปรแกรมจะพิมพ์ COMPUTER ออกมา Structure of C

จากโปรแกรม printf() จะทำหน้าที่พิมพ์ข้อความที่อยู่ภายในเครื่องหมายคำพูดออกทางหน้าจอ โดยจะเก็บฟังก์ชันนี้ไว้ใน stdio.h (standard input output) ซึ่งจะเก็บชุดคำสั่งเกี่ยวกับการส่งข้อมูลเข้าออกเอาไว้ จึงต้องเรียก stdio.h ขึ้นมา #include เรียกว่า ไดเร็กทีฟ (directive) และ stdio.h เรียกว่า ไฟล์ส่วนหัว (header file) Structure of C

ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมที่ 1 /* PROGRAM BY weratham teacher #include<stdio.h> main() { printf(“COMPUTER”); printf(“PROGRAMMING”); } ผลการรัน COMPUTERPROGRAMMING Structure of C

ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมที่ 2 /* PROGRAM BY weratham teacher #include<stdio.h> Main() { printf(“COMPUTER \n”); printf(“PROGRAMMING \n”); } ผลการรัน COMPUTER PROGRAMMING Structure of C

จากตัวอย่างโปรแกรมที่ 2 จะมีเครื่องหมายแบ็คสแลต (Backslash) ตามด้วย n (\n) ซึ่งเป็นตัวบอกว่าเมื่อพิมพ์ COMPUTER แล้วให้ขึ้นบรรทัดใหม่ Structure of C

โปรแกรมอินเทอร์แรคทีฟ (Interactive Program) Structure of C

ตัวอย่างโปรแกรมแปลงหน่วยฟุตเป็นหน่วยนิ้ว #include<stdio.h> Main() { int feet, inches; printf(“Enter number of feet ”); scanf(“%d”,&feet); inches = feet * 12; printf(“ %d inches ”,inches); } วิธีคำนวณ นิ้ว = ฟุต * 12 Structure of C

ผลการรันโปรแกรม Enter number of feet_ เมื่อใส่ข้อมูลเข้าไป เครื่องจะคำนวณค่าในหน่วยนิ้วออกมา โปรแกรมลักษณะนี้จะต้องมีการใช้คำสั่งสำหรับให้ผู้ใช้ติดต่อกับเครื่อง ในโปรแกรมนี้จะใช้คำสั่ง Scanf เพื่อรับค่าข้อมูลทางแป้นพิมพ์ Structure of C

ตัวอย่างโปรแกรมรับเลขจำนวนเต็มทางแป้นพิมพ์จำนวนสองค่า จากนั้นโปรแกรมแสดงผลบวกทางจอภาพ #include<stdio.h> #include<conio.h> main(){ int num1, num2, SUM; clrscr(); printf(“Enter Number 1 ”); scanf(“%d”,&num1); printf(“Enter Number 2 ”); scanf(“%d”,&num2); SUM = num1+num2; printf(“sum = %d\n”,SUM); } คำนวณผลบวก Structure of C

ตัวอย่างโปรแกรมรับเลขค่ารัศมีและหาค่าพื้นที่วงกลม #include<stdio.h> #define twopi (3.14159 * 2.0) main(){ float radius, circum; printf(“Enter radius ”); scanf(“%f”,&radius); circum = twopi * radius; printf(“Circumference : %.2f\n”,circum); } Structure of C