เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้า ( I ) ความต้านทาน ( R ) และความต่างศักย์ (E, V)
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่าแรงดันกระแสสลับ AC Indicating Voltage Meter
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
เครื่องวัดแบบชี้ค่าขนาดกระแสสลับ AC Indicating Ampere Meter
ความเค้นและความเครียด
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE NU
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
Elements of Thermal System
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความผิดพลาดของการวัด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments Piyadanai Pachanapan, 303251 Electrical Instruments & Measurement, NU

เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง ใช้พื้นฐานของขดลวดเคลื่อนที่แบบ D’Arsonval มาใช้วัดสัญญาณกระแสตรง สามารถใช้เป็นเครื่องมือวัดต่างๆ ดังนี้ - Ammeter วัดกระแส - Voltmeter วัดแรงดัน - Ohmmeter วัดความต้านทาน - Multi-meter วัดกระแส, แรงดัน, ความต้านทาน

Multi-meter DC Ammeter

DC Ammeter

แอมมิเตอร์กระแสตรง (DC Ammeter) ใช้ขดลวดเคลื่อนที่แบบ D’Arsonval (PMMC) เป็นส่วนประกอบสำคัญ ต้องมีปรับปรุงเรื่องพิสัยการวัด (range) เนื่องจาก ขดลวดเคลื่อนที่แบบ D’Arsonval สามารถวัดได้แต่ค่ากระแสน้อยๆ ( )

ในวงจรแอมมิเตอร์ จะแทนในส่วน ขดลวดเคลื่อนที่ (PMMC) ด้วยวงจรสมมูลดังรูป Im  กระแสที่ไหลผ่านขดลวดเคลื่อนที่ (Ifs = กระแสที่ไหลผ่านขดลวดสูงสุด) Rm  ความต้านทานภายใน (ความต้านทานขดลวดภายในขดลวดเคลื่อนที่)

โครงสร้างของ DC Ammeter

การขยายพิสัยการวัด ของ DC Ammeter เป็นการทำให้เครื่องมือวัด สามารถวัดกระแสได้ มากกว่า ค่ากระแส Im สามารถทำได้โดยต่อความต้านทานขนานเพื่อแบ่งกระแส (Shunt) ความต้านทานที่ต่อเข้ามาเรียก RShunt, Rsh เป็นความต้านทานค่าต่ำ ที่แบ่งกระแสจากขดลวดเคลื่อนที่ รู้ค่า Im, Rm  หาขนาด Rsh เพื่อใช้วัดกระแสได้สูงขึ้น

Ish  กระแสผ่าน Rsh Rsh  ความต้านทานของชันต์

+ Vm - ใช้หลักการทางวงจรไฟฟ้า มาวิเคราะห์หาค่า Rsh + Vsh - วงจรขนาน สมการโนด จะได้

ในกรณีที่ต้องการให้มิเตอร์วัดกระแสได้ n เท่าของ Im สามารถคำนวณหาค่า Rsh ได้จาก จะได้ จาก

ตัวอย่างที่ 1 จงคำนวณหาค่า Rsh ของแอมป์มิเตอร์ ที่มีค่ากระแสสเกลสูงสุด 1 mA และมีค่าความต้านทานภายในขดลวด 100 โดยต้องการใช้วัดกระแสระดับ 0 – 100 mA

สมการโนด (KCL) จะได้

ตัวอย่างที่ 2 แอมมิเตอร์เครื่องหนึ่งใช้ขดลวดเคลื่อนที่มีความต้านทาน 99 โอห์มกระแสไฟฟ้าเต็มสเกล 0.1 mA ต่อขนานกับชันต์ 1 ohm จงคำนวณหากระแสไฟฟ้ารวมที่ไหลเข้ามิเตอร์ แล้วเข็มชี้ไปที่ตำแหน่งกึ่งกลางของเต็มสเกล เข็มชี้ไปกึ่งกลาง  ครึ่งหนึ่งของกระแสไฟฟ้าเต็มสเกล (Ifs) จะได้

จาก จะได้ จากการใช้สมการโนด จะได้กระแสที่ไหลเข้ามิเตอร์ เป็น

Swamping Resistance ทำจาก ทองแดง (Cu) หรือ แมงกานิน (Mn) - สัมประสิทธิ์อุณหภูมิต่ำ ใช้ชดเชยอุณหภูมิ เนื่องมาจากกระแสไหลผ่านความต้านทานขดลวด (I2R)  กระแสสูง  อุณหภูมิสูง อุณหภูมิที่สูงขึ้น จะสปริงก้นหอยจะลดความเครียดลง ทำให้เข็มมิเตอร์อ่านค่ากระแสได้ต่ำกว่าค่าจริง

แอมมิเตอร์หลายย่านวัดแบบ Single Shunt ในแต่ละย่านวัดจะมีความต้านทานชันท์แยกอิสระต่อกัน เปลี่ยนย่านวัดโดยใช้สวิตช์เลือก (Selector Switch) ข้อเสีย ขณะเปลี่ยนย่านวัด กระแสจะไหลเข้าขดลวดเคลื่อนที่จนเกิดความเสียหายได้ แก้ปัญหาโดย ใช้สวิตช์เลือกย่านแบบต่อก่อนตัด (Make before Break Switch)

แอมมิเตอร์หลายย่านวัดแบบ Ayrton Shunt บางครั้งเรียก “Universal Shunt” การหาค่า Ra, Rb, Rc จะหามาจากแต่ละย่านวัด (I1, I2, I3)

ย่านวัด I1 หา Rsh1 จากวงจร จาก จะได้

ย่านวัด I2 หา Rsh2 จากวงจร

วงจรขนาน จาก จะได้

จะได้ Rsh2 เท่ากับ หาค่า Rsh2 ได้ จะสามารถหาค่า Ra ได้จาก

ย่านวัด I3 หา Rsh3 จากวงจร

วงจรขนาน จาก จะได้

จะได้ Rsh3 เท่ากับ ** หาค่า Rsh2 , Rsh3 (Rc) ได้ จะสามารถหาค่า Rb ได้จาก

สรุป การออกแบบแอมมิเตอร์แบบ Ayrton Shunt ย่านวัด I1 (ย่านวัดต่ำสุด) ย่านวัด I2

สรุป การออกแบบแอมมิเตอร์แบบ Ayrton Shunt (ต่อ) ย่านวัด I3 (ย่านวัดสูงสุด) กรณีเพิ่มย่านการวัดเป็น I4, I5 ก็จะคำนวณค่า Rsh4, Rsh5 ทำนองเดียวกับกรณีย่านการวัด I2, I3

ตัวอย่างที่ 3 จงหาความต้านทาน Ra, Rb, Rc ของแอมมิเตอร์แบบ Ayrton Shunt

ย่านวัด I1 (10 mA)

ย่านวัด I2 (100 mA) หา Ra และ Rsh2

ย่านวัด I3 (1 A) หา Rc (Rsh3 )และ Rb

ออกแบบแอมมิเตอร์แบบ Ayrton Shunt ได้เป็น

ความผิดพลาดเนื่องจากการใส่แอมมิเตอร์เข้าไปในวงจร (Ammeter Insertion Effects, Ammeter Loading Effects) การต่อแอมมิเตอร์เข้าไป เหมือนเป็นการเพิ่มความต้านทานเข้าไปในวงจร กระแสที่ไหลในวงจรจะเปลี่ยนไป มาก/น้อย ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนความต้านทานเดิมกับความต้านทานของแอมมิเตอร์

ก่อนใส่แอมมิเตอร์ ค่ากระแสต้องการ หลังใส่แอมมิเตอร์ ได้ค่ากระแส กระแสลดลงจากเดิม

ตัวอย่างที่ 4 ต้องการวัดกระแสที่ไหลผ่าน Rc ของวงจรดังรูป โดยแอมมิเตอร์ที่ใช้วัดมีความต้านทานภายใน 78 Ohm จงคำนวณหาค่าเปอร์เซ็นความผิดพลาดจากการต่อแอมมิเตอร์เข้าไปในวงจร

กรณีไม่ได้ต่อแอมมิเตอร์

ใช้กฏการแบ่งกระแส (Current Divider) เพื่อหากระแสที่ไหลผ่าน Rc

กรณีต่อแอมมิเตอร์

ใช้กฏการแบ่งกระแส (Current Devider) เพื่อหากระแสที่ไหลผ่าน Rc

เปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาด (Percentage of Error)

กรณีที่แอมมิเตอร์มี Rsh ต่อขนานอยู่เพื่อการขยายพิสัย จะทำให้แอมมิเตอร์มีความต้านทานภายใน (Rin) เท่ากับ Rin

Rin กรณี กระแสของย่านวัด I มีค่ามากกว่า กระแสไฟฟ้าขดลวด Im เท่ากับ n เท่า จะได้ ความต้านทานภายใน เท่ากับ

ก่อนต่อ ผลจาก Loading Effect หลังต่อ

ค่าความถูกต้อง (Accuracy : A) เปอร์เซ็นต์ค่าความผิดพลาด คือ

ข้อควรระวังในการใช้แอมมิเตอร์ ความผิดพลาดเนื่องจากความฝืด (Friction Error) เนื่องจากส่วนเคลื่อนที่จะถูกวางให้หมุนอยู่บนเดือย ซึ่งอาจมีความฝืดเกิดขึ้น ความผิดพลาดเนื่องจากอุณหภูมิ (Temperature Error) เกิดจากเส้นแรงแม่เหล็ก แรงของสปริง และขดลวดในมิเตอร์ มีค่าที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ ห้ามต่อแอมมิเตอร์คร่อมแหล่งกำเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า เพราะจะมีค่ากระแสสูงมากจากแหล่งกำเนิด ไหลผ่านแอมมิเตอร์

ข้อควรระวังในการใช้แอมมิเตอร์ (ต่อ) การต่อแอมมิเตอร์เข้ากับวงจรต้องต่อให้ถูกขั้ว มิฉะนั้นเข็มจะตีกลับข้าง ทำให้มิเตอร์เสียหาย ถ้ายังไม่แน่ใจว่ากระแสที่วัดมีค่าเท่าไร ให้ตั้งแอมมิเตอร์ไว้ที่พิสัยที่ค่ากระแสสูงที่สุด