บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมจำลองการทำงาน
Advertisements


ไมโครซอพต์ ออฟฟิศ เพาเวอร์พอยต์ Microsoft Office PowerPoint
Microsoft PowerPoint.
Adobe Premiere. Workflow  Start or open project  Capture and import video/audio  Assembly and refine sequence  Add titles  Add transitions and effects.
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
Interactive Learning Demo Builder
Nested loop and its applications.
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม.
Lab 05 : Microsoft PowerPoint 2013 Part 1 ทพ 491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
GOLD MEDAL ปรับปรุงขั้นตอน ลดหย่อนเวลา พัฒนาคุณภาพงาน 1.
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกประวัติ ความเป็นมาของโปรแกรม FreeMind ได้ 2. บอกความหมายและสามารถเลือกใช้โปรแกรม Open Source Software ได้ 3. บอกความหมายของการอับโหลดและการดาวน์
Lab 07 : Windows Movie Maker 12Part 1 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
หน้าต่างหลัก ของโปรแกรม Project Management เป็นโปรแกรมที่ ช่วยดูแล การ จัดการของงาน ต่างๆ ให้มี ความเป็น ระเบียบ และ ตรวจสอบการ ทำงานได้ง่าย ยิ่งขึ้น.
Microsoft Office PowerPoint 2007
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 5 การสร้างแผนภาพความคิด
Lab 05 : การสร้างเว็บไซต์ด้วย Weebly สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
1. วิธีการ Set ค่าคอมพิวเตอร์ก่อนติดตั้ง
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part1) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 7 การตัดต่อวิดีโอด้วย Movie Maker วิชาพท260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 07 : Windows Movie Maker Part 2 พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 6 : เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 6 : ภาพเวกเตอร์ สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
บทที่ 7 : การป้องกันไวรัส Part2 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft PowerPoint Part 2 ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียงพ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
Information and Communication Technology Lab2
ARP Spoof โดยอาจารย์ธวัชชัย ชมศิริ อาจารย์สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
Introduction to Arduino UNO
Chapter5:Sound (เสียง)
Case Study : 12 จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์เกินราคามาตรฐานครุภัณฑ์ จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ความสว่าง 3,500 ANSI Lumens พร้อมติดตั้ง จำนวน 1 ชุด.
สร้างปกหนังสือด้วย Photo shop.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
งานการข่าว นายสยมภู อภิรัฐวงศ์ นักการข่าวชำนาญการพิเศษ
บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์
บทที่ 11 ระบบปฏิบัติการ Linux T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
การประกันคุณภาพผลิตผลสดทางการเกษตรตามมาตรฐาน Codex
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 3 ความสำคัญและ ผลกระทบจากอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ปีที่ ๙
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
Microsoft PowerPoint 2013 Part 2
The script and Scriptwriting
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part1) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
การบังคับชำระหนี้ Subtitle NOTE:
บทที่ 5 ปฏิบัติการที่ 5.3 : การสร้างงานนำเสนอด้วย
Outline รู้จักกับโปรแกรม Windows Movie Maker การติดตั้งโปรแกรม
บทที่ 9 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
เสียง.
Unit2หลักการตัดต่อและลำดับภาพ
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
Week14-15 ภาษาการเขียนโปรแกรม อ.ธิดาวรร คล้ายศรี NOTE:
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06.1 Audio พย. 1205 การสื่อสารและสารสนเทศทางการพยาบาล อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline รู้จักกับโปรแกรม Audacity ติดตั้งโปรแกรม Audacity Case study: การจัดรายการวิทยุเบื้องต้น ออกแบบ Audio แหล่งดาวน์โหลดเพลงและเอฟเฟคถูกลิขสิทธิ์ เริ่มการตัดแต่งเสียงด้วย Audacity

รู้จักกับโปรแกรม Audacity พัฒนาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 1999 จนถึงปัจจุบัน สามารถใช้งานได้ทั้งบนแพล็ตฟอร์ม Windows, Mac และ Linux มีการใช้งานอย่างแพร่หลายโดยผู้ใช้ทั่วโลก เพราะมีขนาดเล็ก ใช้งานง่าย และมีเครื่องมือใช้ งานครบครัน ศึกษาเพิ่มเติมและดาวน์โหลดได้ที่ http://www.audacityteam.org/

ติดตั้งโปรแกรม Audacity ดาวน์โหลดได้ที่ http://www.audacityteam.org/ จากนั้นติดตั้ง ตามปกติ 2 1

Case Study : การจัดรายการวิทยุเบื้องต้น ในภาคปฏิบัตินี้ให้สมมติเหตุการณ์ว่านักศึกษามี หน้าที่ในการจัดรายการวิทยุ โดยใช้เสียงอัด ร่วมกับเสียงเพลงและเสียงเอฟเฟคในการผลิต รายการวิทยุที่มีความยาวประมาณ 2 นาที (ทำ Demo แบบง่ายๆ)

ออกแบบ Audio Track/Time เสียงอัด เอฟเฟค เพลงเปิด/ เพลงคลอ เพลง 30 s 0 – 0.30 0.31 – 1.00 1.01 – 1.30 1.31 – 2.00 2.01 – 2.30 เสียงอัด เอฟเฟค เพลงเปิด/ เพลงคลอ เพลง 30 s 20 s 10s 50 s 30 s ประมาณ 60 s

แหล่งดาวน์โหลดเพลงและเอฟเฟคถูกลิขสิทธิ์ สามารถดาวน์โหลดเพลงและเอฟเฟคแบบถูกลิขสิทธิ์ ได้ที่ https://www.youtube.com/audiolibrary/music

การให้เครดิตผู้ประพันธ์เพลง หากนำไปใช้ในสื่อวิดีโอ การให้เครดิตผู้ประพันธ์เพลงถือว่าเป็นมารยาทและ เป็นการให้ความเคารพกับผู้ประพันธ์เพลง หาก เพลงใดที่ผู้ประพันธ์ให้ใช้ได้ฟรีแต่ต้องมีการให้ เครดิต นศ.ควรให้เครดิตกับผู้ประพันธ์ด้วย สัญลักษณ์ที่ต้องให้เครดิตแก่ผู้ประพันธ์ นำเครดิตใส่ไว้ในส่วนท้ายของวิดีโอ

แนะนำคลิปวิดีโอสอนการตัดแต่งเสียงเบื้องต้น https://www.youtube.com/watch?v=mtVM2_tS CBQ

เริ่มการตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 1.1 เริ่มอัดเสียง 1. ปุ่มอัดเสียง 2. ปุ่มหยุดเมื่อต้องการยุติการอัดเสียง 3. เสียงที่อัดจะเป็นแทรคใหม่

การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 1.2 ลดเสียงรบกวน (Noise Reduction) 2. เลือก Effect 4. ปรับแต่งตามต้องการแล้วคลิก OK 1. คลิกเลือกแทรค 3. เลือก Noise Reduction

4. ปรับจังหวะให้เร็วขึ้นหรือช้าลง การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 1.3 ปรับจังหวะให้เร็วขึ้นหรือช้าลงด้วย Tempo 2. เลือก Effect 4. ปรับจังหวะให้เร็วขึ้นหรือช้าลง 3. เลือก Change Tempo 1. คลิกเลือกแทรค Slow Quick

การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 2 การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 2.1 สร้างเสียงเอฟเฟค (Generate Effect) 2. เลือกรูปแบบของ Noise และความดัง ตามรูป และคลิก OK ในที่นี้เราจะทดลองสร้างเสียง Noise เพื่อเปิดนำ รายการ 1. คลิกเลือกGenerate และ Noise ตามลำดับ 3. จะได้แทรคใหม่เป็นเสียงเอฟเฟค *เลื่อนแทรคด้วยเครื่องมือ Time Shift

การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 2.2 เพิ่มลดความดังด้วย Amplify 2. เลือก Effect 4. ปรับเสียงให้ดังขึ้นหรือเบาลง 3. เลือก Amplify เบา ดัง 1. คลิกเลือกแทรค

การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 3 การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 3.1 เพิ่มเสียงเพลง mp3 เพื่อเปิดรายการ-คลอ ทำได้โดยการลากไฟล์เสียงเพลง mp3 มาใส่ใน โปรแกรม Audacity

การตัดแต่งเสียงด้วย Audacity : step 3 1. แดรกเมาส์เลือกส่วนที่ต้องการตัด แล้วกดปุ่ม Delete 2. ปรับลดระดับเสียงด้วย Amplify

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 3 การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 3.3 ปรับระดับเสียงด้วยเครื่องมือ Envelope 1. เลือกใช้เครื่องมือ Envelope Tool 2. ปรับแต่งระดับเสียงให้กลมกลืนกับเสียงบันทึก

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 3 การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 3.4 ค่อยๆลดระดับเสียงเพลงด้วย Fade Out 1. เลือกพื้นที่ของเสียงที่ต้องการ Fade Out 2. เลือก Effect แล้วเลือก Fade Out 3. ระดับเสียงจะค่อยๆลดลงเรื่อยๆ

1. นำเข้าไฟล์เพลงที่เตรียมไว้เป็นแทรคใหม่ การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 4.1 นำเพลง mp3 มาใส่ใน Audacity เป็นแทรคใหม่ 1. นำเข้าไฟล์เพลงที่เตรียมไว้เป็นแทรคใหม่

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 4 1. ตัดส่วนหัวที่ไม่มีความจำเป็นออก 2. ตัดเพลงหลังจากท่อนฮุคออกไป

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 4.3 ค่อยๆ Fade Out เสียงเพลงลง 1. เลือกพื้นที่สุดท้าย 2. ค่อยๆ Fade Out ลง * การตัดเสียงควรตัดให้ตรงจังหวะเพลง จะได้ไม่รู้สึกเหมือนถูกขัดจังหวะ

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 5 1. เสียงในแทร็คใหม่ที่อัดลงไป 2. ปรับแต่งด้วย Noise Reduction, Amplify หรือ Tempo

3. นำไปวางแทร็คเดียวกับเสียงเปิดรายการ การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 5.2 นำเสียงอัดปิดรายการ ไปไว้แทร็คเดียวกับเสียงเปิดรายการ 3. นำไปวางแทร็คเดียวกับเสียงเปิดรายการ 2. เลือกเครื่องมือ Cut 1. เลือกเสียงปิดรายการ

2. เลือก Effect และ Normalize ตามลำดับ การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 5.3 ปรับเสียงอัดให้กลมกลืนด้วย Normalize 2. เลือก Effect และ Normalize ตามลำดับ 1. เลือกแทร็ค 2. เสียงจะสม่ำเสมอกัน

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 5 1. ปิดแทร็คว่างเปล่า

1. เลือกเฉพาะช่วงที่ต้องการ แล้วนำไปวางในแทร็คเพลงคลอ การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 6.1 นำเสียงเพลงคลอมาใส่เพื่อปิดรายการ 1. เลือกเฉพาะช่วงที่ต้องการ แล้วนำไปวางในแทร็คเพลงคลอ

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 6.2 ค่อยๆเร่งเสียงขึ้นด้วย Fade In 2. เลือก Effect และ Fade In ตามลำดับ 1. เลือกเฉพาะช่วงที่ต้องการ 3. ระดับเสียงจะค่อยๆ เพิ่มขึ้น

การตัดต่อเสียงด้วย Audacity : step 6.3 ปรับแต่งเสียงให้มีความกลมกลืน ปรับแต่งเสียงด้วย Envelope, Fade Out และ Normalize ตามลำดับ

เก็บรายละเอียด ฟัง Audio ตั้งแต่ต้นจนจบอีกครั้ง (หรือ หลายๆครั้ง) แล้วปรับแต่งให้มีความกลมกลืน และเหมาะสมที่สุด

แปลงไฟล์ให้เป็น MP3 เพื่อนำไปใช้งาน 1. เลือก File และ Export Audio ตามลำดับ 2. เลือกชนิดไฟล์เป็น MP3 แล้วกำหนดมาตรฐานตามรูป

แปลงไฟล์ให้เป็น MP3 เพื่อนำไปใช้งาน [ต่อ] 1. โปรแกรมจะถามหาตัวแปลงไฟล์เป็น mp3 ให้คลิก Download 2. ระบบจะเปิดหน้าเว็บเพื่อดาวน์โหลด LAME

แปลงไฟล์ให้เป็น MP3 เพื่อนำไปใช้งาน [ต่อ] 1. ดาวน์โหลด LAME มาติดตั้ง

ทำการ Export Audio อีกครั้ง แล้วตั้งชื่อให้กับ Audio

การบ้านเพิ่มเติม ให้นศ.ทำการจัดรายการโดยเปิดเพลงเพิ่มเติมอีก 2 เพลง คือ เพลงเรื่องที่ขอ – ลุลา เพลงใจกลางความเจ็บปวด – Crescendo โดยความยาวของ Audio รวมต้องไม่เกิน 6 นาที ส่งไฟล์ mp3 ไปที่อีเมลของอาจารย์ โดยตั้งชื่อ ไฟล์และหัวข้ออีเมลเป็น “NU1205_Lab06.1_รหัส นศ.” กำหนดส่งไม่เกินวันจันทร์หน้า