ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเลือกจำนวน Hidden Node ที่เหมาะสมกับโครงข่ายประสาทเทียม
Advertisements

Forecasting II Continue อาจารย์กวินธร สัยเจริญ.
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
การวางแผน และควบคุมการตผลิต
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
วันนี้จัดที่นั่งใหม่เรียงดังนี้ แถวที่ 1 ลำดับที่ 61-72,73 แถวที่ 1 ลำดับที่ 61-72,73 แถวที่ 2 ลำดับที่ 49-60,74 แถวที่ 2 ลำดับที่ 49-60,74 แถวที่ 3 ลำดับที่
การศึกษาการพยากรณ์ ความต้องการและนโยบาย การจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา บริษัท ABC นิศาชล ไทรชมภู
มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น รหัส 3000 งานให้ความเชื่อมั่น นอกเหนือจากการ ตรวจสอบ หรือการสอบทานข้อมูลทางการเงินในอดีต.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
Thanapon Thiradathanapattaradecha
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
13 October 2007
Department of Marketing Bangkok University
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
การวิเคราะห์อนุกรมเวลา และการพยากรณ์
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ปีที่ ๙
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
การวิจัยพัฒนา การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และการวิจัยเชิงผสานวิธี
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
Quantitative Analysis
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
บทที่ 4 การกำหนดกรอบแนวคิดตัวแปร และสมมติฐานของการวิจัย
บทที่ 3 การพยากรณ์ยอดขาย การบริหารงานอุตสาหกรรม.
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต 05/12/52 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก E-Mail : termpong5@hotmail.com Mobile phone :081-132-6048 Download ข้อมูลการเรียนจาก : www.termpong.wordpress.com 1 บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต การบริหารการผลิต บทที่ 1 ลักษณะและความสำคัญของการผลิต

ให้ นักศึกษาศึกษา เนื้อหาบทที่ 2 พร้อมกับทำแบบฝึกหัดท้ายบทล่วงหน้า พบกันวันเสาร์ที่ 9 มกราคม 2010 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต

บทที่ 2 การพยากรณ์เพื่อการผลิต 3 การพยากรณ์เป็นขั้นตอนสำคัญในการดำเนินการผลิต - รู้จำนวนความต้องการสินค้าและบริการในอนาคต - ต้องมีการคาดการณ์ เช่น - โรงพยาบาลต้องการทราบจำนวนคนไข้ : เพื่อการเตรียมเครื่องมือแพทย์ พยาบาล และ ห้องพยาบาล - บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ ต้องการทราบจำนวนรถยนต์ที่ลูกค้าทั้งหมดที่ต้องการ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

ความหมายของการพยากรณ์ 4 การพยากรณ์คือ การคาดการณ์ หรือมองเหตุการณ์ในอนาคตโดยอาศัยข้อมูลจากอดีต และการพยากรณ์นั้นต้องประกอบด้วย การประมาณค่าขนาดของตัวแปรต่าง ๆโดยไม่ลำเอียง เป็นการคาดคะเนความต้องการสินค้าและบริการ ของลูกค้าเป้าหมาย ในอนาคต(ล่วงหน้า)ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยอาศัยข้อมูลในอดีตมาช่วยในการวิเคราะห์ความต้องการ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์ คือ การประมาณ หรือ การคาดคะเนว่าอะไรจะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น การพยากรณ์ยอดขายของ 3 ปีข้างหน้า การพยากรณ์มีบทบาทสำคัญกับทุกด้าน ทั้งหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน รัฐบาลต้องประมาณ หรือ พยากรณ์รายได้ รายจ่ายในปีหน้า เพื่อนำมาวางแผน เอกชนต้องพยากรณ์ยอดขาย เพื่อนำมาวางแผนการผลิต สินค้าคงคลัง แรงงาน ฯลฯ ข้อมูลหรือประสบการณ์ในอดีต เทคนิคการพยากรณ์ (กระบวนการพยากรณ์) ผลที่ได้จากการพยากรณ์ แสดงความหมายของการพยากรณ์ 5 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต การบริหารการผลิต

วัตถุประสงค์ของการพยากรณ์ 6 วัตถุประสงค์ของการพยากรณ์ที่เกี่ยวกับการผลิตหรือค่าของการพยากรณ์ 1. เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการตัดสินใจในการผลิต วางแผนการขาย และวางแผนปัจจัยในการผลิต 2. เพื่อใช้ข้อมูลในอดีตคาดการณ์คะเนความต้องการในการวางแผนการผลิต ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต ประเภทของการพยากรณ์ 7 ประเภทของการพยากรณ์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. การพยากรณ์เชิงคุณภาพ 2. การพยากรณ์เชิงปริมาณ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ 8 เป็นการพยากรณ์โดยใช้ความคิดเห็นของผู้บริหาร เช่น ผู้จัดการฝ่ายขาย ฝ่ายจัดซื้อ 6 เทคนิควิธีคือ 1. เดลฟาย : พยากรณ์โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยผ่านแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ์ ถามต่อเนื่อง 2- 3 ครั้งเป็นกระบวนการหนึ่งของการเก็บรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในอนาคตในเรื่องที่เกี่ยวกับ เวลา ปริมาณ และ/หรือ สภาพการณ์ที่ต้องการจะให้เป็น จากความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่กระจัดกระจายกันให้สอดคล้องกันอย่างมีระบบ โดยใช้วิธีการเสาะหาความคิดเห็นจากการตอบแบบสอบถามของผู้เชี่ยวชาญแทนการเรียกประชุม ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต 05/12/52 การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) 9 2. วิธีวิจัยตลาด (Market Research) ประกอบด้วยการออกแบบสอบถาม กำหนด วิธีการเก็บข้อมูล สุ่มตัวอย่างมาสัมภาษณ์ รวบรวมข้อมูลมาประมวลผลและเคราะห์ตามลำดับ วิธีนี้ใช้กับการพยากรณ์ในระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาวได้ แต่เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายสูงและต้องพิถีพิถันในการปฏิบัติหลายขั้นตอน ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 1 ลักษณะและความสำคัญของการผลิต

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) 10 3.ความคิดเห็นของผู้บริหาร (Executive Opinion) ใช้พยากรณ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ยังไม่ออกสู่ท้องตลาดมาก่อน จึงใช้ความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีประสบการณ์คนหนึ่งหรือหลายคนมาช่วยพยากรณ์และกำหนดกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น การนำผลิตภัณฑ์สู่ตลาดต่างประเทศ ข้อจำกัดของวิธีนี้ คือ มักใช้เวลาของกลุ่มผู้บริหารในการประชุมสรุปการพยากรณ์มากจึงเป็นวิธีที่มีค่าใช้จ่ายสูงและไม่ควรใช้ผู้บริหารฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพยากรณ์ตามลำพังโดยไม่ได้สรุปร่วมกับผู้บริหารฝ่ายอื่น เพราะผลของการพยากรณ์กระทบทุกฝ่ายขององค์การ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) 11 4.การประมาณการของพนักงานขาย (Sale Force Estimates) ใช้การประมาณการของพนักงานขายซึ่งเป็นผู้ที่ได้สัมผัสกับสภาพของตลาดมากที่สุด ใกล้ชิดกับลูกค้ามากที่สุด พนักงานขายจะพยากรณ์โดยรวบรวมยอดขายแต่ละเขตพื้นที่ซึ่งตนรับผิดชอบเท่านั้น แล้วส่งมายังสำนักงานใหญ่ แต่วิธีนี้ก็มีข้อผิดพลาดได้เนื่องจากพนักงานขายบางคนเป็นผู้มองโลกแง่ดีเกินไป หรือพนักงานขายมักจะรู้ดีว่ายอดขายของการพยากรณ์จะถูกใช้ในการกำหนดโควตาการขายจึงประมารการไว้ต่ำเพื่อเอายอดขายเกินเป้าได้ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) 12 5. วิธี Penet Concencus เป็นการระดมความคิดการรวมกลุ่มของผู้เชี่ยวชาญมาอภิปราย สรุปปัญหา 6. วิธี Grass – root forecasting - การสอบถามบุคคลที่ใกล้ชิดกับปัญหา เช่น ผู้ทำงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ใช้บริการ หรือผลิตภัณฑ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงคุณภาพ(ต่อ) 13 7. การพยากรณ์โดยยึดติดกับอดีตเป็นหลัก - เป็นการพยากรณ์โดยนำเหตุการณ์ในอดีต มาเป็นฐานในการพยากรณ์(เหตุการณ์หนึ่งมาใช้ในการพยากรณ์ในอีกเหตุการณ์หนึ่ง) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ 14 การพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative methods) เป็นการพยากรณ์ที่ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) ในอดีตเพื่อนำมาพยากรณ์ค่าในอนาคต โดยสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ เช่น แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ตัวแบบอนุกรมเวลา และ ตัวแบบเหตุผล ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 15 ตัวแบบอนุกรมเวลา (Time series Forecasting) เป็นเทคนิคที่ใช้เฉพาะข้อมูลในอดีตของตัวแปรที่ต้องการพยากรณ์ เพื่อพยากรณ์ค่าของตัวแปรนั้นในอนาคต เช่น ใช้ข้อมูลยอดขายปี 2540-2551 เพื่อพยากรณ์ยอดขายปี 2552 เป็นการพยากรณ์โดยการศึกษาการเคลื่อนที่ของข้อมูลชุดหนึ่งตามงวดระยะเวลาในอดีตว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรจนถึงปัจจุบัน โดยพิจารณาจากอิทธิพลของปัจจัย 4 ประการคือ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 16 อนุกรมเวลา 1. อิทธิพลของแนวโน้ม ข้อมูลอาจจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง จำนวนประชากร แนวโน้มอิทธิพลของกองทุนเพื่อความมั่งคั่งในตลาดการเงินโลก แนวโน้มของกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย แนวโน้มภูมิอากาศของโลก แนวโน้มการเคลื่อนไหวจะมีลักษณะ เส้นตรง โค้ง ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 17 2. อิทธิพลของฤดูกาล เสื้อกันหนาวจะขายดีในฤดูหนาว การพยากรณ์ยอดการขายสินค้า ที่จำหน่ายตามฤดูกาล จะมีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ยอดการผลิตสินค้า 3 อิทธิพลของวัฏจักร - เช่นการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษบกิจ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 18 4. อิทธิพลของเหตุเหนือความคาดหมาย มีผลต่อการพยากรณ์ยอดการขาย ซึ่งมีกระทบต่อการการผลิตด้วย - เช่นการนัดหยุดงาน - การเกิดภัยธรรมชาติอย่างรวดเร็ว เช่น สึนามิ - การเกิดเศรษฐกิจตกต่ำแบบเฉียบพลัน - การเกิดอัคคีภัย - การเกิดสงครามหรือการจลาจล ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 19 ลักษณะของการพยากรณ์แบบอนุกรมเวลา นิยมใช้ในการพยากรณ์ยอดการขาย 1. การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย 2. การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก 3. การปรับเรียบโดยใช้เลขชี้กำลัง ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 20 1. การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย เหมาะกับ - การพยากรณ์ระยะสั้น - ค่าของตัวแปรที่ต้องการพยากรณ์เปลี่ยนแปลงไม่มากนักในหน่วยของเวลาที่ทำการพยากรณ์ - วิธีการพยากรณ์ นำยอดการขายที่เกิดขึ้นระหว่างคาบเวลาในอดีตติดต่อกัน หารด้วยจำนวนคาบเวลาทั้งหมดที่นำมารวมกัน(ตัวอย่าง : หน้าที่ 27 -28) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 21 2.การหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก เป็นการให้น้ำหนักความสำคัญแก่ยอดการขายในคาบเวลาต่าง ๆ ไม่เท่ากัน โดยให้ยอดการขาย ณ คาบเวลาปัจจุบันมีน้ำหนักมากกว่ายอดการขาย ณ เวลาที่เก่ากว่าลงไป ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 22 วิธีการพยากรณ์(ตัวอย่าง หน้าที่ 29-30) นำยอดการขายจริง คูณกับน้ำหนักที่นำมาถ่วง ให้ความสำคัญกับยอดการขาย ณ คาบเวลาในปัจจุบันที่สุด เช่น 3 คาบเวลา ณ ปัจจุบันมากที่สุดคูณ 3 และลดหลั่นลงไป เป็น 2 และ 1 ตามลำดับ จากนั้น ให้หารด้วยผลรวมของน้ำหนักที่นำมาถ่วง ผลที่ได้คือยอดการพยากรณ์ ของคาบเวลาถัดไป (ค่าเฉลี่ยนของ 4 คาบเวลา) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 23 3. การปรับเรียบโดยเลขชี้กำลัง -เป็นการพยากรณ์โดยข้อมูล ยอดขายจริง แทนสัญลักษณ์ D ห้อย t (Dt ยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง ณ คาบเวลาที่ปัจจุบันที่สุด) Dt – 1,2… ยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง ณ คาบเวลาที่ผ่านมา 1 และ 2 ตามลำดับ Dt +1,…… คาบเวลาในอนาคต ซื่งต้องอาศัยยอดการพยากรในอดีต ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) สมการที่ใช้ Ft = KD +(1- K)KD +(1-K) KD +(1-K) KD + 2 3 t t-1 t-2 t-3 ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 25 การพยากรณ์โดยใช้ตัวแบบเหตุผล มีอยู่หลายวิธี การพยากรณ์โดยการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย หลักการว่าค่าของตัวแปรที่เปลี่ยนแปลง “ ตัวแปรตาม(Dependent Variable) จะถูกกำหนดโดยตัวแปรอิสระ (Independent Variable) อาจจะเดียวหรือหลายตัว ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

ตัวแปรตาม - ครัวเรือน อุตสาหกรรม ธุรกิจ ตัวแปรอิสระ 26 การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิตบทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทกการบริหารการผลิต การบริหารการผลิต

การพยากรณ์เชิงปริมาณ(ต่อ) 27 สมมติฐาน 2 ประการ ของการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย 1. ตัวแปรอิสระและตามต้องมีความสัมพันธ์กัน 2. ค่าตัวแปรตามจะขึ้นอยู่กับตัวแปรอิสระตัวเดียว โดยให้ตัวแปรอิสระอื่น ๆ คงที่ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต

การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต ปัจจัยพยากรณ์(Y) Y = ปัจจัยตาม(ขึ้นอยู่กับปัจจัยx) Y = a+bx X = ปัจจัยอิสระ(ปัจจัยที่เกิดก่อน) b = ความลาดชันของเส้นตรง a = ค่าคงที่ } ปัจจัยพยากรณ์(X) Σy -bΣx a = ดูตัวอย่าง หน้า 34 -35 n ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การปรับยอดการพยากรณ์ กระทำเพราะความแปรเปลี่ยนของปัจจัยต่าง ๆ มีวิธีการปรับยอดการพยากรณ์หลายวิธี การหาค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยสัมบูรณ์ (MAD : Mean Absolute Deviation) ความแตกต่างระหว่างยอดการขายจากการพยากรณ์กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริง จะเป็นบวกหรือลบก็ได้ ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ) ตัวแบบแสดงความสัมพันธ์ At แทนยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงในคาบเวลา t MAD = Σ At- Ft N Ft แทนยอดการขายที่พยากรณ์ไว้ในคาบเวลา t N แทนจำนวนคาบเวลาที่นำมาหาค่าเฉลี่ย แทนเครื่องหมายแสดงค่าสัมบูรณ์ที่ไม่คำนึงว่าจะเป็นเครื่องหมายบวกและลบ Σ แทนเครื่องหมายแสดงว่าต้องบวกเข้าด้วยกันให้ครบจำนวน ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ) การหาค่าผิดพลาดเฉลี่ยกำลังสอง (MSE : Mean Square Error) ซึ่งจะเริ่มต้นด้วยการหาผลต่างระหว่างยอดการขายที่ทำการพยากรณ์กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงก่อน ภายใต้เครื่องหมายวงเล็บแล้วยกกำลังสอง (At- Ft) 2 MSE Σ = N การนำค่า MSEไปใช้ต้องถอดรากที่สองก่อน ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ) การหาค่าผิดพลาดเฉลี่ย( Mean Forecast Error : MFE) เป็นการหาผลต่างระหว่ายอดการขายที่พยากรณ์ กับยอดการขายที่เกิดขึ้นจริงก่อนแล้ว หาผลรวมของความแตกต่างนั้นทุกคสบเวลาเข้าด้วยกัน แล้วหารด้วยจำนวนคาบเวลาที่ใช้ทั้งหมดมาหาค่าเฉลี่ย ค่า MFE ที่ได้ถ้ายิ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 0 เท่าใด ยิ่งแสดงว่าการพยากรณ์มีความแม่นยำมาก At- Ft MFE Σ = N ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การปรับยอดการพยากรณ์(ต่อ) การหาค่าผิดพลาดร้อยละเฉลี่ยสัมบูรณ์( Mean Absolute Percentage Error : MAPE) ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต

การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 ให้ทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 ทุกข้อ ในสมุดฉีกแบบฝึกหัด ผ.ศ.เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริหารการผลิต บทที่ 2 การพยากรณ์การผลิต