บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 1. การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card) หรือการ์ดแลน หรืออีเทอร์เน็ตการ์ด ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่เข้ากับระบบเครือข่ายได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 2
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 2. ฮัป (Hub) คือ อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 3
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 3. สวิตช์ (Switch) คือ อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ คือ การรับ-ส่งข้อมูลจากสถานีหรืออุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปทุกสถานีเหมือนฮับ เพื่อลดปัญหาการชนกันของข้อมูล Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 4
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 4. บริดจ์ (Bridge) คือ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครือข่ายหลายๆ กลุ่มที่เชื่อมต่อกัน เนื่องจากสามารถแบ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลาย ๆ เซ็กเมนต์แยกออกจากกันได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 5
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 5. รีพีตเตอร์ (Repeater) คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณเพื่อให้ส่งข้อมูลถึงกันได้ในระยะไกลขึ้น Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 6
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 6. โมเด็ม (Modem) คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่านสายโทรศัพท์ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 7
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 7. เราเตอร์ (Router) คือ อุปกรณ์จัดเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 8
1. อุปกรณ์ระบบเครือข่าย 8. เกตเวย์ (Gateway) คือ อุปกรณ์ที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล ของเครือข่ายที่แตกต่างกัน สามารถรับ-ส่งข้อมูลที่แตกต่างกัน Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 9
2. สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล สื่อกลางหรือตัวกลางเป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สามารถนำผ่านไปได้ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งขึ้นอยู่กับแบนด์วิดท์ (Bandwidth) ของการสื่อสารแต่ละประเภท Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 10
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ 1.1 สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Cable) ประกอบด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุ้มพันกันเป็นเกลียว สามารถลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 11
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ - สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิตเกลียวมีฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้น ไม่สามารถป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 12
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ - สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวน (Shielded Twisted Pair: STP) เป็นบิดเกลียว สามารถลดการรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าได้ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 13
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ข้อดีของสายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Cable) 1. ราคาถูก 2.ใช้งานง่ายมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 3. ติดตั้งง่ายและมีนำเหนักเปล่า ข้อเสียของสายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Cable) 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ 2. ระยะทางถูกจำกัด Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 14
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล - หัวเชื่อมต่อ (Modular Plugs) สายคู่บิดเกลียวจะใช้หัวเชื่อมต่อแบบ RJ-45 โดยจะเชื่อมต่อกับสายคู่บิดเกลียว 4 คู่และ RJ-11 จะเชื่อมต่อกับสายคู่บิดเกลียว 2 คู่เท่านั้น Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 15
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ 1.2 สายโคแอ็กเซีลย (Coaxial Cable) ประกอบด้วยสายทองแดงอยู่ตรงกลาง หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 1 ชั้น แล้วหุ้มด้วยทองแดงที่ถักเป็นแผ่นแล้วหุ้มภายนอกอีกชั้นหนึ่ง ความเร็วในการส่งข้อมูล 350 Mbps ส่งได้ระยะทาง 2-3 ไมล์ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 16
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ สายโคแอ็กเซีลยสามารถถ่ายทอดสัญญาณได้ 2 แบบ คือ 1. บรอดแบนด์ (Broadband Transmission) - แบ่งสายสัญญาณออกเป็นช่องสัญญาณขนาดเล็กจำนวนมาก – แต่ละช่องสัญญาณสามารถรับ-ส่งข้อมูลได้พร้อมกัน - ส่งสัญญาณแบบอนาล็อก – ใช้ในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ได้หลายร้อยช่อง เช่น Cable TV Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 17
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ สายโคแอ็กเซีลยสามารถถ่ายทอดสัญญาณได้ 2 แบบ คือ 2. เบสแบนด์ (Baseband Transmission) - มีเพียงช่องสัญญาณเดียว – มีความกว้างของช่องสัญญาณมาก - การส่งสัญญาณแบบ Half duplex – ใช้ในระบบ LAN ส่งสัญญาณแบบดิจิทัล -อุปกรณ์มีความซับซ้อนน้อยกว่าบรอดแบนด์ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 18
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ข้อดีของสายโคแอ็กเซียล 1. มีประสิทธิภาพและความต้านทานต่อการรบกวนสูง 2. สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าสายคู่บิดเกลียว 3. สามารถส่งได้ทั้งเสียง วิดีโอ ข้อมูล ข้อเสียของสายโคแอ็กเซียล 1. ราคาแพงกว่าสายคู่บิดเกลียว 2. ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงกว่าสายคู่บิดเกลียว 2. จำกัดจำนวนของการเชื่อมต่อ 4. ระยะทางจำกัด Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 19
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล - หัวเชื่อมต่อ สายโคแอ็กเซียลจะใช้หัวเชื่อมต่อที่เรียกว่า BNC มีหลายแบบ แบ่งเป็น 1. หัวเชื่อมต่อแบบ BNC เป็นหัวเชื่อมต่อเข้ากับปลายสาย 2. หัวเชื่อมต่อสานรูปตัว T 3. หัวเชื่อมต่อสิ้นสุดสัญญาณ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 20
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 1. สื่อกลางทางสาย มี 3 แบบ ได้แก่ 1.3 สายใยแก้วนำแสง (Optical Fiber) ประกอบด้วยใยแก้วนำแสง 2 ชนิด (แกนกลาง/ด้านนอก) ซึ่งทั้งสองจะมีค่าดัชนีการสะท้อนแสงต่างกัน ความเร็วในการส่งข้อมูล 1 Gbps ระยะทางในการส่งข้อมูล 20-30 ไมล์ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 21
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ข้อดีของสายใยแก้วนำแสง 1. ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง 2. ไม่มีการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า 3. ส่งข้อมูลได้ปริมาณมาก ข้อเสียของสายใยแก้วนำแสง 1. ราคาแพง 2. ต้องใช้ความชำนาญในการติดตั้ง 2. มีค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสูงกว่า 2 แบบแรก Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 22
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 2. สื่อสัญญาณไร้สาย 2.1 ระบบไมโครเวฟ (Microwave System) เป็นการส่งสัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากหอสถานีส่ง-รับสัญญาณหนึ่งไปยังอีกหอหนึ่ง แต่ละแห่งจะครอบคลุมพื้นที่รับสัญญาณประมาณ 30-50 กม. โดยใช้คลื่นความถี่สูง (2-10 GHz) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 23
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 2. สื่อสัญญาณไร้สาย 2.2 การสื่อสารด้วยดาวเทียม (Satellite Transmission) คือ สถานีไมโครเวฟลอยฟ้า ทำหน้าที่ขยายและทวนสัญญาณข้อมูล ลอยอยู่สูงจากพื้นโลก 22,300 ไมล์ การส่งสัญญาณขึ้นไปเรียกว่า “อัพลิงก์ (Up-link)” และการส่งสัญญาณลงมาเรียกว่า “ดาวน์ลิงก์ (Down-link)” Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 24
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 2. สื่อสัญญาณไร้สาย 2.3 ระบบที่ใช้คลื่นวิทยุเป็นพาหนะ (Radio Carrier) คือ มีการแพร่กระจายพลังคลื่นจากสายอากาศด้านผู้ส่ง ฝั่งผู้รับก็จะมีการขยายและแปลงสัญญาณที่มีการส่งมากลับให้เหมือนเดิม Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 25
3. ประเภทของสื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล 2. สื่อสัญญาณไร้สาย 2.4 ระบบที่ใช้คลื่นแสงเป็นพาหนะ (Light Carrier) ส่วนมากใช้แสงอินฟราเรดเป็นตัวกลางในการสื่อสาร เช่น LAN แบไร้สาย Remote Control โดยใช้คลื่น Spread Spectrum Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 26
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. Cable Tester เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบและวิเคราะห์สายสัญญาณแลน Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 27
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. คีมเข้าหัวเชื่อมต่อ Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 28
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. Port Cat 6 RJ-45 UTP Rack Mount Patch Panels Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 28
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. RJ-45 Modular Jacks ปลั๊กตัวเมีย หรือเต้ารับหัว RJ-45 Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 30
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5. RJ-45 Modular Plug Boots ตัวครอบสาย RJ-45 Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 31
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. Face plates ฝาครอบตัวรับปลั๊ก RJ-45 Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 32
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. Pop up Mount ชุดรางปลั๊กสำหรับฝังพื้น Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 33
4. อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 8. Wall Rack ตู้เก็บอุปกรณ์ Server Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science, Suan Dusit University หน้า 34
จบการนำเสนอ หน้า 35