ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องเร่งรัดการควบคุมวัณโรคต่อไป (2553)
Advertisements

1 รายงานวัณโรครอบ 3 เดือน โรงพยาบาล ผู้นำเสนอ ชื่อ ตำแหน่ง
การรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
Thamuang Hospital, Kanchanaburi Province 18 Nov 2008.
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลมหาสารคาม
8 เมษายน 2556 สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
กระบวนการและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
แผนปฏิบัติการยึดคืน พัฒนา และจัดสรรพื้นที่
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 4
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
TBCM Online.
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
RIHES-DDD TB Infection control
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
Medication Reconciliation
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การติดตามและประเมินผล การดำเนินการโครงการฯ
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
การใช้ยา.
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
แนวทางการตรวจคัดกรองTB/HIV
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางปะหัน.
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การตรวจราชการและนิเทศงาน
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขระดับ รพศ./รพท./รพช.ที่สามารถดำเนินงาน วัณโรคตามแนวทางการควบคุมวัณโรคแห่งชาติอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2554 โดย สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7อุบลราชธานี วันที่ 11เมษายน 2554

ประเด็นการนำเสนอ วัตถุประสงค์ สรุปผลการดำเนินงาน ปี งบประมาณ 2553 ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ

1. วัตถุประสงค์ เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับทราบถึงมาตรฐานการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในประเด็นต่างๆอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดการพัฒนางานด้านการควบคุมวัณโรคตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปฏิบัติงานวัณโรคอย่างมีคุณภาพของบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับในอันที่จะลดอัตราป่วย อัตราตาย และการแพร่เชื้อของวัณโรค จนกระทั่งไม่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของประเทศ

2.ผลการประเมินรพศ./รพท./รพช.ผ่านเกณฑ์ระดับ A ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 % รพศ./รพท.= 93 แห่ง รพช.นำมาประเมิน = 411แห่ง

2.ผลการประเมินรพศ./รพท. รพช. ปี2553 (แยกตาม สคร.) %

2.ผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในแต่ละข้อของรพศ./รพท. ปีงบประมาณ 2553 2.ผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในแต่ละข้อของรพศ./รพท. ปีงบประมาณ 2553

ผลการประเมินผ่านเกณฑ์แต่ละข้อของรพช. ปีงบประมาณ 2553

3. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 1. การตอบสนองเชิงนโยบาย 1.1 มีคลินิกวัณโรคที่เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรมตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ อย่างน้อย 2 คน โดยเป็นผู้รับผิดชอบหลัก 1 คน และมีผู้สามารถทำหน้าที่แทนได้อีก 1 คน คำอธิบาย เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบต้องผ่านการอบรมหลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่คลินิกวัณโรค 2 วัน หรือมีพี่เลี้ยงที่ผ่านการอบรมแล้วสอนงานให้และได้ปฏิบัติงานมาแล้วอย่างน้อย 6 เดือน หรือเรียนรู้จากการทำงานด้วยตนเองมากกว่า 2 ปี 1.2 มีการแต่งตั้ง Mr.TB และทำหน้าที่อำนวยการกำกับติดตามการดำเนินงานวัณโรค Mr.TB คือ แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบเฉพาะงานวัณโรค เพื่อ กำกับติดตาม วิเคราะห์ปัญหา ในการดำเนินงานวัณโรคตามแนวทางการดำเนินงาน วัณโรคแห่งชาติ ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง และมีการประชุมกำกับติดตามการดำเนินงานอย่างน้อย 1 ครั้งภายในปีนั้นๆ

ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 2. การค้นหาและวินิจฉัยผู้ป่วยวัณโรค 2.1 จัดทำทะเบียนชันสูตรเสมหะวัณโรค (สมุดทะเบียน TB 04 หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลในแนวทางเดียวกันกับ TB 04) อย่างครบถ้วน คำอธิบาย สมุดทะเบียน TB 04 หมายถึง สมุดที่มีการบันทึกการตรวจเสมหะผู้ป่วย ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับผู้ป่วยเช่น ชื่อ นามสกุล อายุ เพศ เหตุผลในการส่งตรวจ หมายเลขลำดับการตรวจ และผลการตรวจ เป็นต้น หรืออาจใช้ Program คอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ในการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการชันสูตรในแนวทางเดียวกันกับ TB04 ครบถ้วน หมายถึง มีการบันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม TB04 ครบทุกช่อง ยกเว้น ช่องหมายเหตุ อาจระบุหรือไม่ก็ได้ แนวทางการประเมิน ตรวจสอบทะเบียนชันสูตรเสมหะวัณโรคที่ห้องปฏิบัติการ (บันทึกในสมุด หรือคอมพิวเตอร์ได้ แต่ต้องสามารถตรวจสอบได้) โดยสุ่มดู 1 เดือนภายใน cohort ล่าสุดและตรวจสอบทุกรายในเดือนที่สุ่มตรวจ กรณีที่ทะเบียน TB 04 แยกกันระหว่าง OPD และ IPD ให้ตรวจดูทั้งสองที่

4. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 2.3 การตรวจชันสูตรเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศน์ผ่านการประเมินคุณภาพ ตามวิธีการและเกณฑ์ของกรมควบคุมโรค (EQA/LQAS) เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน - มีระบบการเก็บสไลด์เพื่อการสุ่มตรวจที่ได้มาตรฐานและมีผลความถูกต้องในการอ่านเสมียร์สไลด์ (Agreement rate) ตั้งแต่ร้อยละ 90 ขึ้นไป = 6 คะแนน - มีระบบการเก็บสไลด์เพื่อการสุ่มตรวจที่ได้มาตรฐานและมีผลความถูกต้องในการอ่านเสมียร์สไลด์ (Agreement rate) น้อยกว่าร้อยละ 90 หรือ มีระบบการเก็บสไลด์เพื่อการสุ่มตรวจที่ไม่ได้มาตรฐานและมีผลความถูกต้องในการอ่านเสมียร์สไลด์ (Agreement rate) มากกว่าร้อยละ 90 ขึ้นไป = 3 คะแนน - ไม่มีระบบการเก็บสไลด์เพื่อการสุ่มตรวจ = 0 คะแนน

4. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 3. การรักษาด้วยระบบยาระยะสั้นแบบมีพี่เลี้ยง 3.2 ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อทุกราย ได้รับการกำกับรับประทานยาโดยอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพี่เลี้ยงต้องเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรืออาสาสมัครสาธารณสุข หรือแกนนำชุมชน แนวทางการประเมิน ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อได้รับการกำกับการรับประทานยา โดยอย่างน้อยร้อยละ 50 ของพี่เลี้ยงต้องเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ อาสาสมัครสาธารณสุข/แกนนำชุมชุน แต่ทั้งนี้ต้องได้รับการเยี่ยม บ้านโดยเจ้าหน้าที่ด้านสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ในการรักษาระยะเข้มข้น และเดือนละครั้งในระยะต่อเนื่อง 4 คะแนน  ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อมีการรับประทานยาต่อหน้าไม่ตามเกณฑ์ 2 คะแนน  ผู้ป่วยรับประทานยาเอง 0 คะแนน 4. ยารักษาวัณโรคไม่ขาดแคลนและมีคุณภาพ 4.1 มียาวัณโรคพื้นฐาน (First line Drugs) ในคลังเพียงพอในการรักษาผู้ป่วยตลอดเวลา คำอธิบาย เพียงพอคือ มียาพื้นฐานครบทุกชนิด และไม่ขาดแคลน ไม่เกิดการขาดช่วงของยารักษาวัณโรค (No Drug interruption) 4.2 มียาวัณโรคพื้นฐาน (First Line Drug) ที่มีคุณภาพ สุ่มยาวัณโรคพื้นฐานทุกชนิด ตรวจดูลักษณะกายภาพของเม็ดยา ยาฉีด ที่มีใช้ในคลินิกวัณโรค และห้องจ่ายยา รวมทั้งวันผลิต วันหมดอายุ และมีการจัดเรียงยาแบบ First expired First out (FEFO)

ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 4. ยารักษาวัณโรคไม่ขาดแคลนและมีคุณภาพ 4.3 ยามีคุณภาพ จัดเป็น Daily packets โดยงานเภสัชกรรม แนวทางการประเมิน - จัดทำ Daily packets(ทั้ง 6 เดือน) การบรรจุยาถูกต้อง โดยเภสัชกร หรือภายใต้การดูแลกำกับของ เภสัชกร 2 คะแนน - ทำได้บางส่วน 1 คะแนน ไม่มีหรือไม่ถูกต้อง 0 คะแนน สัมภาษณ์/สุ่มดูการเตรียม, ตรวจสอบเอกสาร สุ่มดูผู้ป่วยที่บ้าน (กิจกรรมหนึ่งในการเยี่ยมบ้าน) 4.4 ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยารักษาวัณโรค -ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับความรู้เรื่องยา และการเฝ้าระวังอาการข้างเคียงจากยาวัณโรค มีบันทึกรายงาน ดูแลโดยเภสัชกร 3 คะแนน - มีระบบการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากยารักษาวัณโรค แต่ไม่มีบันทึกรายงาน 1.5 คะแนน ไม่มีบันทึกรายงาน และไม่มีระบบการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากยารักษาวัณโรค 0 คะแนน การสัมภาษณ์, ตรวจสอบเอกสาร / แบบบันทึก / รายงาน

ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 5. ทะเบียนและรายงานวัณโรค 5.1 มีการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ทุกราย อย่างครบถ้วนและถูกต้อง คำอธิบาย การขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคทุกราย หมายถึง ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ทุกรายที่ได้รับการวินิจฉัยหรือจ่ายยารักษาวัณโรคจะต้องได้รับการขึ้นทะเบียนและมีการบันทึกข้อมูลครบถ้วนถูกต้องตามแบบฟอร์ม TB03 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน - มีการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ทุก รายและบันทึกข้อมูลถูกต้องครบถ้วน 5 คะแนน รายแต่บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง 2.5 คะแนน - ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ไม่ครบทุกราย 0 คะแนน

4. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 5.2 มีการจัดทำรายงานรอบ 3 เดือนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และส่งทันเวลาภายใน 14 วันหลังสิ้นสุด Cohort คำอธิบาย ครบถ้วน ถูกต้อง หมายถึง ครบถ้วนและถูกต้องตามงวดรายงานทั้ง 4 ประเภทรายงาน 6. การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล 6.1 มีบริการช่องทางด่วนสำหรับการตรวจวินิจฉัยผู้มีอาการสงสัยวัณโรคแผนกผู้ป่วยนอก (และหอผู้ป่วยใน) ช่องทางด่วน หมายถึง มีจุดคัดกรองอาการเพื่อแยกผู้สงสัยวัณโรค และมีระบบการส่งตรวจวินิจฉัย ติดตามผลชันสูตร และให้การรักษาที่รวดเร็ว ดังนี้ 1. มีกระบวนการคัดกรองแยกผู้ป่วย และผู้สงสัยป่วยเป็นวัณโรค 2. มีการแจกและใช้ผ้าปิดปาก และจมูก (maskหรือผ้าเช็ดหน้า) 3. มีการทำสัญลักษณ์ที่บัตรเพื่อการบริการที่รวดเร็ว 4. ผลชันสูตรไม่ตกค้างที่หน่วยชันสูตร คือ มีผลชันสูตรไม่ตกค้างภายใน 24ชั่วโมง 5. มีการให้การรักษาที่รวดเร็วภายในวันเดียวกัน

4. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน - มีทุกข้อตามคำอธิบายของช่องทางด่วน ได้ 4 คะแนน - มีบางข้อตามคำอธิบายของช่องทางด่วน ได้ 2 คะแนน - ไม่มีเลยตามคำอธิบายของช่องทางด่วน ได้ 0 คะแนน แนวทางการประเมิน - สังเกต และสอบถาม ตามประเด็นคำอธิบายช่องทางด่วน 6.2 มีห้องหรือพื้นที่แยกอย่างเหมาะสมสำหรับผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อที่หอผู้ป่วยใน คำอธิบาย ห้องหรือพื้นที่แยก หมายถึง ห้องแยก หรือพื้นที่แยกที่มีต้องมีลักษณะที่จะลดอัตราเสี่ยงของการแพร่กระจายเชื้อเป็นอย่างดีเช่น อากาศถ่ายเทดี พัดลมต้องวางในจุดที่พัดจากพื้นที่สะอาดกว่าไปยังพื้นที่ที่สะอาดน้อยกว่า หรือเป็น Negative Pressure Room - มีห้องหรือพื้นที่แยกที่มีอากาศถ่ายเทดี 4 คะแนน - มีห้องหรือพื้นที่แยกแต่อากาศถ่ายเทไม่ดี 2 คะแนน - ไม่มีห้องหรือพื้นที่แยก 0 คะแนน

4. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 6.3 มีการจัดสถานที่แผนกผู้ป่วยนอกทั่วไปหรือคลินิกอายุรกรรมและคลินิก วัณโรค ออกห่างจากคลินิกผู้ป่วยอื่น ๆ ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค อย่างเหมาะสม คำอธิบาย อย่างเหมาะสม หมายถึง คลินิกทั้งสองประเภทไม่อยู่ติดกันหรือระยะห่างกันไม่น้อยกว่า 5 เมตร และ/หรือคลินิกให้บริการผู้ป่วยต่างวันกัน 7. การผสมผสานงานวัณโรคและโรคเอดส์ 7.2 ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์ ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี ต้องได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์มาตรฐานการดูแลผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อ เอช ไอ วี (CD4 < 350cell/µL) รวมทั้งผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และได้รับยาต้านไวรัสอยู่แล้วด้วย  ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และได้รับยาต้านไวรัสตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 60 5 คะแนน ร้อยละ 30-60 2.5 คะแนน น้อยกว่าร้อยละ 30 0 คะแนน

ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 7.3 ผู้ที่ติดเชื้อ HIV/ ผู้ป่วยเอดส์ใหม่ทุกราย ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคปอดตามเกณฑ์ คำอธิบาย ผู้ที่ติดเชื้อ HIV หรือผู้ป่วยเอดส์ใหม่ทุกราย ต้องได้รับการคัดกรองวัณโรคปอด โดยการซักประวัติ และประวัติเสี่ยง 5 ข้อตามเกณฑ์ หากพบประวัติเสี่ยง 1 ใน 5 ข้อ ต้องทำการตรวจวินิจฉัยวัณโรคต่อทุกราย ดังนี้ 1. อาการไอติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ 2. มีไข้ตลอด 1 เดือน 3. น้ำหนักตัวลดมากกว่า 5 กิโลกรัมในเวลา 1 เดือน 4. เหงื่อออกมากผิดปกติตอนกลางคืน 5. คลำต่อมน้ำเหลืองที่คอโตขนาดเกิน 2 เซนติเมตร การตรวจเพื่อวินิจฉัยวัณโรค คือการส่งตรวจเสมหะหรือตัวอย่างสิ่งส่งตรวจหาเชื้อวัณโรคด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Acid Fast Bacilli) และถ่ายภาพรังสีทรวงอก(Chest X-ray) เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน ทุกรายได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคปอดตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 90 ได้ 5 คะแนน ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคปอดตามเกณฑ์ร้อยละ 70-90 ได้ 2.5 คะแนน ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรคปอดตามเกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 70 ได้ 0 คะแนน

4. ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 8. ผลการรักษา (Treatment outcomes) 8.1 อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อเป็นลบร้อยละ 87 ขึ้นไป เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน - อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกเป็นลบ มากกว่าหรือ เท่ากับร้อยละ 87 ได้ 5 คะแนน - อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกเป็นลบร้อยละ 82 - 86 ได้ 2.5 คะแนน - อัตราการเปลี่ยนของเสมหะจากบวกเป็นลบน้อยกว่าร้อยละ82 ได้ 0 คะแนน แนวทางการประเมิน ประเมินจากทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคใน Cohort สำหรับการ รักษา (TB07/1) ไม่นับรวมผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำ และผู้ป่วย วัณโรคที่ไม่ใช่คนไทย

ประเด็นการปรับรายละเอียดตัวชี้วัดและการประเมินในแต่ละหัวข้อ หัวข้อ/เนื้อหา 8.2 อัตราการขาดการรักษาในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อน้อยกว่าร้อยละ 3 เกณฑ์และวิธีคิดคะแนน - อัตราการขาดยาน้อยกว่าร้อยละ 3 ได้ 5 คะแนน - อัตราการขาดยาร้อยละ 3-5 ได้ 2.5 คะแนน - อัตราการขาดยามากกว่าร้อยละ 5 ได้ 0 คะแนน แนวทางการประเมิน ประเมินจากทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคใน Cohort สำหรับประเมินผลการรักษา(TB08)ไม่นับรวมผู้ป่วยวัณ โรคในเรือนจำ และผู้ป่วยวัณโรคที่ไม่ใช่คนไทย 8.3 อัตราความสำเร็จของการรักษาในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อร้อยละ 87 ขึ้นไป วัตถุประสงค์ เพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อวัณโรค และป้องกันการดื้อยา - อัตราความสำเร็จของการรักษา ได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 87 ได้ 5 คะแนน - อัตราความสำเร็จของการรักษา ได้ร้อยละ 82 - 86 ได้ 2.5 คะแนน - อัตราความสำเร็จของการรักษา ต่ำกว่าร้อยละ 82 ได้ 0 คะแนน ประเมินจากทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคใน Cohort สำหรับประเมินผลการรักษา (TB08) โดยประเมินย้อนหลัง รวมเฉลี่ย 3 รอบรายงาน (Cohort) ไม่นับรวมผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำ และผู้ป่วยวัณโรคที่ไม่ใช่คนไทย

สิ่งสนับสนุนจากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี

กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการสนับสนุน Culture และ DST 1. ผู้ป่วยวัณโรคปอดเคยรักษา “Retreatment” 1.1 ผู้ป่วยที่มีผลการรักษาล้มเหลว (Failure) 1.2 ผู้ป่วยที่กลับเป็นวัณโรคซ้ำ (Relapse) 1.3 ผู้ป่วยที่ขาดการรักษาและมีผลเสมหะบวก (Default) 2. ผู้ป่วยวัณโรคที่กำลังรักษา และมีผลเสมหะบวก เมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 2/3 และ 5/6 “On treatment”

กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการสนับสนุน Culture และ DST 3. ผู้ป่วยวัณโรคปอดใหม่ “Pretreatment” 3.1 เสมหะบวก ที่มีผล HIV positive 3.2 สงสัย/สัมผัส MDR-TB 3.3 กลุ่มเสี่ยง : เรือนจำ ชายแดน ต่างด้าว 3.4 บุคลากรทางสาธารณสุขที่มีการติดเชื้อ 4. ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) ที่ติดตามการรักษา

กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการสนับสนุน Culture และ DST หลักฐานที่ต้องใช้ สำเนา TB register และเอกสารทะเบียนการรักษาผู้ป่วย ใบนำส่งทางห้องปฏิบัติการ

อัตราค่าบริการ (นอกเหนือจากกลุ่มสนับสนุน) 1. Culture (MGIT 960) 400 บาท 2. Identification (ICT) 400 บาท 3. DST (MGIT 960 AST) 1,500 บาท

เอกสาร และสิ่งสนับสนุน ทะเบียน TB 04 ทะเบียน QA ทะเบียนส่งเสมหะส่งตรวจ ใบส่ง C/S ดาวน์โหลด ได้ที่ www.dpc 7.com กลุ่มพัฒนาวิชาการ กล่องเก็บ slid ทะเบียน TB 01

ขอบคุณค่ะ ธัญรดี วิไลเนตร 086-8706969 จิรพันธุ์ อินยาพงษ์ 089-7171861 งานเภสัชกร ศิริจันทร์ นาคนิกร 086-4651728 งานห้องปฏิบัติการ มนธิรา เงินประมวน 045-255836 วัลยา สิทธิ 045-255836