พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
การออกแบบและเทคโนโลยี
ธาตุและสารประกอบ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
โดย คุณครูพนิดา กระทุ่มนอก
ข้อใดไม่ใช่สมบัติของแก๊ส
การทำ Normalization 14/11/61.
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
ตารางธาตุ.
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปฏิกิริยาเคมี ครูปฏิการ นาครอด.
กรด-เบส Acid & BASE.
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ตารางธาตุ.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Alkyne และ Cycloalkyne
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
Chemistry Introduction
เบส (Base) • สารที่ทําปฏิกริ ิยากบั กรดแล้วได้เกลอื • มีรสฝาด หรือ ขม
อะตอม และ ตารางธาตุ โดย อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
บทที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
SMS News Distribute Service
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
มลภาวะของอากาศ(Air pollution)
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
บทที่ 6 อุณหภูมิและความร้อน
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ความเข้มข้นของสารละลาย
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
โมล และ ความสัมพันธ์ของโมล
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
สมบัติธาตุตามตารางธาตุ
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดสารประกอบไอออนิก วัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ (Born-Haber cycyle) ตั้งสมมติฐานว่า การเกิดสารประกอบไอออนิกชนิดหนึ่งๆ นั้นมีหลายขั้นตอน ขึ้นอยู่กับสมบัติขอองสารตั้งต้น ในแต่ละขั้นตอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้นด้วยพลังงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง Max Born Fritz Haber

พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 1 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ โลหะ(s)  โลหะ(g) โลหะ(l)  โลหะ(g) โลหะ(g)  โลหะไอออนบวก(g) + ne- พลังงานการระเหิด (heat of sublimation : Hsub) พลังงานการระเหย (heat of vaporisation : Hvap) พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy : IE)

พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 2 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับอโลหะ X2(l)  X2(g) X2(g)  2X(g) X(g) + me-  Xm-(g) พลังงานการระเหย (heat of vaporisation : Hvap) พลังงานการสลายพันธะ (Dissociation energy: D) พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron affinity : EA)

พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 3 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับไอออนบวกและไอออนลบ โลหะไอออนบวก(g) + อโลหะไอออนลบ(g)  สารประกอบไอออนิก(s) พลังงานโครงผลึกหรือพลังงานแลตทิช (Lattice energy: U)

พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน 4 พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกโดยตรง โลหะ (s) + อโลหะ(l,g)  สารประกอบไอออนิก(s) พลังงานรวมของการเกิดปฏิกิริยา (heat of formation : Hf)

พลังงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน เครื่องหมาย “+” เป็นการใช้พลังงาน (ดูดความร้อน) เครื่องหมาย “-” เป็นการให้พลังงาน (คายความร้อน) กระบวนการในการเกิดสารประกอบไอออนิก พลังงานที่เกี่ยวข้องกับโลหะ พลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเกิดสารประกอบไอออนิกโดยตรง + = พลังงานที่เกี่ยวข้องกับอโลหะ + พลังงานที่เกี่ยวข้องกับไอออนบวกและไอออนลบ

การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl)   Na(s) Na(g) Na+(g) NaCl(s)    1 2 Cl2(g) Cl(g) Cl-(g)

การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ขั้นที่ 1 Na(s) + 109 kJ  Na(g) Hsub = 107 kJ + พลังงาน ขั้นที่ 2 Na(g) + 498 kJ  Na+(g) + e- IE1= 496 kJ + พลังงาน +

การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็น ½ เพราะการดุลสมการ ขั้นที่ 3 1 2 Cl2(g) + 122 kJ  Cl(g) 1 2 D = 122 kJ + พลังงาน ขั้นที่ 4 Cl(g) + e-  Cl-(g) EA = -349 kJ +

การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ขั้นที่ 5 Na+(g) + Cl-(g)  NaCl(g) U = -787 kJ + พลังงาน สมการรวมของปฏิกิริยา Na(s) + 1 2 Cl2(g)  NaCl(s) Hf = -411 kJ + พลังงาน +

การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) แสดงว่าในการเกิด NaCl(s) เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน คือ เมื่อเกิด NaCl 1 mol จะคายพลังงานเท่ากับ 411 kJ การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ขั้นที่ 1 Na(s) + 107 kJ  Na(g) Hsub หรือ H1 = 107 kJ ขั้นที่ 2 Na(g) + 496 kJ  Na+(g) + e- IE1 หรือ H2 = 496 kJ ขั้นที่ 3 1 2 Cl2(g) + 122 kJ  Cl(g) 1 2 D หรือ H3 = 122 kJ ขั้นที่ 4 Cl(g) + e-  Cl-(g) + 349kJ EA หรือ H4 = -349 kJ ขั้นที่ 5 Na+(g) + Cl-(g)  NaCl(s) + 787kJ U หรือ H5 = -787 kJ ขั้นที่ 1+2+3+4+5 จะได้ สมการรวม Na(s) + 1 2 Cl2(g)  NaCl(s) Hf = 107kJ + 496kJ + 122kJ + (-349)kJ + (-787kJ) = -411kJ

ถ้านำขั้นตอนต่าง ๆ  มาเขียนแสดงเป็นแผนผังตามลำดับ  จะเรียกว่า Born  Haber  Cycle  ซึ่งเป็นแผนผังแสดงขั้นตอนของการการเกิดปฏิกิริยาและการเปลี่ยนแปลงพลังงานในแต่ละขั้น  ดังนี้ 

จงหาสมการรวม และคำนวณหาค่าพลังงานการเกิด MgCl2(s) 1 mol กำหนดให้ พลังงานโครงร่างผลึก (Lattice energy: U) = -2,526 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของ Mg = +738 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 2 ของ Mg = +1,451 kJ/mol พลังงานสลายพันธะของ Cl2 (Dissociation energy: D) = +244 kJ/mol พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของ Cl = -349 kJ/mol พลังงานการระเหิด (heat of sublimation : Hsub) = +150 kJ/mol

สมการรวม Mg(s) + Cl2(g)  MgCl2(s) ขั้นที่ 1 Mg(s)  Mg(g) Hsub = +150 kJ/mol ขั้นที่ 2 Mg(g)  Mg+(g) + e- IE1= +738 kJ/mol MgCl2 Mg+(g)  Mg2+(g) + e- IE2= +1,451 kJ/mol ขั้นที่ 3 Cl2(g)  2Cl(g) D = +244 kJ/mol Mg2+ 2Cl- ขั้นที่ 4 Cl(g) + e-  Cl-(g) EA = -349 kJ/mol 2Cl(g) + 2e-  2Cl-(g) EA = -698 kJ/mol ขั้นที่ 5 Mg2+(g) + 2Cl-  MgCl2 U = -2,526 kJ/mol สมการรวม Mg(s) + Cl2(g)  MgCl2(s) Hf = (+150kJ/mol) + (+738 kJ/mol) + (+1,451 kJ/mol) + (+244 kJ/mol + (-698kJ/mol) + (-2,526 kJ/mol) = -641 kJ/mol

สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดมีสถานะเป็นของแข็ง หรือผลึกที่อุณหภูมิห้อง และเปราะ เมื่อทุบผลึกของสารไอออนิกจะเกิดการเลื่อนไถลของไอออนไปตามระนาบผลึก เป็นผลให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออน ทำให้ผลึกแตกออก โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะเป็นผลึกทรงเป็นรูปลูกบาศก์ ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบเรียงสลับกันเป็นสามมิติแบบต่างๆ ไม่สามารถแยกเป็น โมเลกุลเดี่ยวๆ ได้

สมบัติของสารประกอบไอออนิก 2. สารประกอบไอออนิกไม่นำไฟฟ้าเมื่อเป็นของแข็ง แต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ดี เมื่อทุบผลึกของสารไอออนิกจะเกิดการเลื่อนไถลของไอออนไปตามระนาบผลึก เป็นผลให้ไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่างไอออน ทำให้ผลึกแตกออก

สมบัติของสารประกอบไอออนิก 3. สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงมาก ความร้อนในการทำลายแรงดึงดูดระหว่างไอออนให้กลายเป็นของเหลวต้องใช้พลังงานสูง 

สมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. สารประกอบไอออนิกบางชนิดละลายน้ำได้ดี และบางชนิดไม่ละลายน้ำ เกลือแกง (NaCl) บางชนิดไม่ละลายน้ำ เช่น หินปูน (CaCO3) สารประกอบไอออนิกละลายน้ำได้ เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนมีค่ามากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ

การละลายของสารประกอบไอออนิก s เมื่อนำสารประกอบไอออนิกไปละลายน้ำ น้ำ (มีขั้ว) หันด้านขั้วบวกเข้าหาไอออนลบและหันด้านขั้วลบเข้าหาไอออนบวกที่อยู่บริเวณผิวของผลึกไอออนิก ถ้าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนที่ผิวผลึกไอออนิกมาก กว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบภายในผลึกไอออนิก ผลึกไอออนิกนั้นก็จะละลายน้ำได้ เกิดแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำกับไอออนของผลึกไอออนิกขึ้น

พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s เมื่อให้สารประกอบไอออนิกละลายน้ำ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ขั้นตอน ดังนี้  ขั้นที่ 1 ไอออนบวกและไอออนลบหลุดออกจากโครงผลึก โดยไอออนที่หลุดออกมาจะอยู่ในสภาวะแก๊ส และมีการใช้พลังงานปริมาณหนึ่ง พลังงานที่ใช้ในขั้นนี้ เรียกว่า พลังงานแลตทิช หรือพลังงานโครงร่างผลึก (Lattice Energy ) เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้ เกลือ(s) + พลังงานแลตทิช ไอออนบวก(g) + ไอออนลบ(g) ขั้นที่ 2 ไอออนที่หลุดออกมา ถูกล้อมรอบด้วยโมเลกุลของน้ำ และมีการคายพลังงานออกมาปริมาณหนึ่ง เรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) เกลือ(s)  ไอออนบวก(aq) + ไอออนลบ(aq) Hsoln = (+พลังงานแลตทิช) + (-พลังงานไฮเดรชัน) ไอออนบวก(g) + ไอออนลบ(g)  ไอออนบวก(aq) + ไอออนลบ(aq)

พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s ขั้นที่ 1 NaCl(s) + พลังงานแลตทิช  Na+(g) + Cl-(g) : ดูดพลังงาน Hlatt หรือ H1 ขั้นที่ 2 Na+(g) + Cl-(g)  Na+(aq) + Cl-(aq) : คายพลังงาน Hhyd หรือH2 สมการรวม NaCl(s) + พลังงานแลตทิช  Na+(aq) + Cl-(aq) : Hsoln หรือ H3 เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้ โดย : H3 = H1 + H2 ถ้า H3 เป็นค่าบวกแสดงว่าดูดความร้อน ถ้า H3 เป็นค่าลบแสดงว่าคายความร้อน

พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้

 เราสามารถคิดคำนวณได้ว่าการละลายของสารไอออนิกชนิดต่าง ๆ  เมื่อละลายแล้วจะทำให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าไร  ถ้าเราทราบข้อมูลต่อไปนี้ ทราบพลังงานการละลาย (Hsol) ของสารนั้น ๆ ทราบมวลของตัวละลาย(ตัวถูกละลาย) ทราบมวลของตัวทำละลายและความร้อนจำเพาะ (c หรือ s) กำหนดให้ Q : ปริมาณความร้อน (J หรือ calories โดย 1 cal = 4.2 J) m : น้ำหนักของตัวทำละลาย (g) c หรือ s : ความจุความร้อนของตัวทำละลาย (ถ้าตัวทำละลายคือน้ำ c หรือ s = 1 แคลอรี/กรัม หรือ 4.2 J/g C) t : อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง (C) Q = mct หรือ = mst

NaCl(s) → Na+(aq) + Cl-(aq) ; Hsol = + 18 kJ/mol ตัวอย่าง    ถ้าทำให้โซเดียมคลอไรด์จำนวน 1 โมล  ละลายในน้ำ 1 ลิตร อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร ถ้าความร้อนจำเพาะของน้ำคือ  1 cal/g  หรือ  4.2 J/g   และพลังงานของการละลายเป็นดังสมการ                 NaCl(s)    →  Na+(aq) +   Cl-(aq)  ;   Hsol  =    + 18   kJ/mol วิธีทำ Q (ปริมาณความร้อน) = 18 kJ = 18 x 1,000 J = 18,000 J หรือ = 4,285.71 แคลอรี m (น้ำหนักของน้ำ) = 1,000 กรัม c หรือ s (ความจุความร้อนของน้ำ) = 1 แคลอรี/กรัม หรือ 4.2 จูล/กรัม สมการ Q = mct หรือ mst t = 4.28 C ที่พลังงานการละลายที่กำหนดให้คือ Hsol= +18 kJ/mol เป็นการละลายแบบดูดความร้อน ฉะนั้น t ที่คำนวณได้จึงเป็นอุณหภูมิที่ลดลง การละลายดังกล่าวจึงมีผลให้อุณหภูมิลดลง 4.28 C

พลังงานกับการละลายของสารประกอบไอออนิก s เป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน เพราะต้องใช้พลังงานเพื่อสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกกับไออออนลบ ขั้นที่ 2 ไอออนบวกและไอออนลบในภาวะก๊าซรวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ กลายเป็นไอออนที่ถูกไฮเดรต เนื่องจากขั้นนี้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวก และไอออนลบกับโมเลกุลของน้ำ ขั้นนี้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทคายพลังงาน พลังงานที่คายออกมาเรียกว่า พลังงานไฮเดรชัน เช่น เมื่อ โซเดียมคลอไรด์ ละลายน้ำ จะเกิดการเปลื่ยนแปลง 2 ขั้นดังนี้ เกณฑ์การละลาย

กฎของการละลายสาร ALWAYS SOLUBLE ประเภทที่ละลายได้เสมอ คือ ประเภทที่มีไอออนเหล่านี้เป็นองค์ประกอบ alkali metal ions (Li+, Na+, K+, Rb+, Cs+) NH4+ NO3- CH3COO- ClO3-, ClO4- ยกเว้น CH3COOAg ไม่ละลายน้ำ

กฎของการละลายสาร USUALLY SOLUBLE ประเภทที่ละลายได้เป็นส่วนใหญ่แต่มีข้อยกเว้นบ้าง สารที่มี  Cl-, Br-, I- เป็นองค์ประกอบ  ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ag+, Pb2+, Hg22+ จะไม่ละลาย PbCl2 ละลายน้ำได้เล็กน้อย สารที่มี  SO42- เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ca2+, Ba2+, Sr2+, Pb2+ จะไม่ละลายหรือละลายเล็กน้อย แต่ MgSO4 ละลายน้ำได้ สารที่มี  F- เป็นองค์ประกอบ  ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ  Ca2+, Ba2+, Sr2+, Pb2+, Mg2+ จะไม่ละลายหรือละลายเล็กน้อย

กฎของการละลายสาร USUALLY INSOLUBLE ประเภทที่ไม่ละลาย สารประกอบออกไซด์ (O2-) และไฮดรอกไซด์ (OH-) เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับ Ca2+, Ba2+, Sr2+ จะละลายได้เล็กน้อย

กฎของการละลายสาร NEVER SOLUBLE ประเภทที่ไม่ละลายเลย สารที่มี  CO32-, PO43-, S2-, SO32-, CrO42-, C2O42- เป็นองค์ประกอบ ยกเว้นถ้ารวมตัวกับโลหะอัลคาไล และ NH4+ ละลายได้ C2O42- oxalate ดูหนังสือ

สารต่อไปนี้ละลายน้ำได้หรือไม่? Na2S ZnCO3 Cr(OH)3 (NH4)2CO3 PbCl2 Na+ ละลายน้ำได้ดี ไม่ละลายน้ำ Zn2+ รวมตัวกับ CO32- ไม่ละลายน้ำ ไม่ละลายน้ำ Cr3+ รวมตัวกับ OH- ไม่ละลายน้ำ ละลายน้ำ NH4+ ละลายน้ำได้ดี ละลายน้ำเล็กน้อย ละลายน้ำได้เล็กน้อย

ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สารละลาย BaCl2 สารละลาย Na2SO4 BaCl2(aq) + Na2SO4(aq)  2NaCl(aq) + BaSO4(s)

ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สารละลาย BaCl2 สารละลาย Na2SO4 BaCl2  Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) Na2SO4  2Na+(aq) + SO42-(aq)

ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สมการไอออนิก BaCl2(aq) + Na2SO4(aq)  2NaCl(aq) + BaSO4(s) Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) + 2Na+(aq) + SO42-(aq)  2Na+(aq) + 2Cl-(aq) + BaSO4(s)

ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก สมการไอออนิก คือ สมการที่แสดงไอออนบวกและไอออนลบของสารประกอบในสารละลายทั้งหมด สมการไอออนิก

หลักทั่วไปในการเขียนสมการไอออนิก 1. ให้เขียนเฉพาะส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารทำปฏิกิริยากันเท่านั้น เขียนเฉพาะ BaCl2(aq) + Na2SO4(aq) Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) + 2Na+(aq) + SO42-(aq)

หลักทั่วไปในการเขียนสมการไอออนิก 2. ถ้าเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ, ไม่แตกตัวเป็นไอออน, เป็นออกไซด์, เป็นก๊าซ ให้เขียนสูตรโมเลกุลของสารนั้นในสมการได้  ตัวอย่างออกไซด์   เช่น  CO2(l,g)   H2O(l,g)  ก๊าซ เช่น H2(g)  NH3(g) สารที่ไม่ละลายน้ำ เช่น  CaCO3(s)  AgCl(s)

หลักทั่วไปในการเขียนสมการไอออนิก 3. ดุลสมการไอออนิก โดยทำจำนวนอะตอมและจำนวนไอออนของธาตุทุกธาตุทั้งทางซ้ายและทางขวาของสมการให้เท่ากัน  ดุลประจุรวมทั้งทางซ้ายและขวาของสมการให้เท่ากัน

สมการไอออนิก สารละลาย BaCl2 กับสารละลาย Na2SO4 สมการไอออนิก Ba2+(aq) + 2Cl-(aq) + Na+(aq) + SO42-(aq)  Na+(aq) + 2Cl-(aq) + BaSO4(s) สมการไอออนิกสุทธิ สมการไอออนิกสุทธิ คือ สมการที่แสดงเฉพาะไอออนบวกและไอออนลบที่เข้าทำปฏิกิริยากัน Ba2+(aq) + SO42-(aq)  BaSO4(s)

Lead (II) nitrate (Pb(NO3)2) & Potassium iodide (KI)

Pb(NO3)2 กับ KI จงเขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ ขั้นที่ 1 Pb(NO3)2(aq)  +  2KI(aq)  PbI2(s)  +  2KNO3 (aq) ขั้นที่  2 Pb2+(aq) + 2NO3-(aq) + 2K+(aq) + 2I-(aq)    PbI2(s) + 2K+(aq) + 2NO3-(aq) ขั้นที่  3 Pb2+(aq) + 2I-(aq)    PbI2(s)     สมการไอออนิกสุทธิ

KOH ละลายน้ำเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้ KOH(s)  K+(aq) + OH-(aq) จงเขียนสมการไอออนิกที่เกิดจากการผสมสารละลาย AgNO3(aq) กับ CaBr2(aq) ขั้นที่ 1 2AgNO3(aq)  +  CaBr2(aq)  2AgBr(s)  +  Ca(NO3)2(aq) ขั้นที่  2 2Ag+(aq) + 2NO3-(aq) + Ca2+(aq) + 2Br-(aq)   2AgBr(s) + Ca2+(aq) + 2NO3-(aq) ขั้นที่  3 2Ag+(aq) + 2Br-(aq)   2AgBr(s)    สมการไอออนิกสุทธิ